แท็ก: การค้า
ทุ่งกุลาร้องไห้ บนเส้นทางการค้า กับโลกของชาว “กุลา” พ่อค้าเร่แห่งอีสาน
"ทุ่งกุลาร้องไห้" บนเส้นทางการค้า กับโลกของชาว “กุลา” พ่อค้าเร่แห่งอีสาน
คำว่า “กุลา” นั้น ชาวอีสานใช้เรียกคน “ตองสู้” หรือ “ไทยใหญ่” ที่เข้ามาค้าข...
ตะลึง! คราบก้นหม้อในภาชนะอายุหลายพันปี เผยส่วนผสมน้ำยาดอง “มัมมี่”
นักประวัติศาสตร์ โบราณคดี และไอยคุปต์วิทยา พากันหลงใหลศาสตร์แห่งการทำ มัมมี่ ของชาวอียิปต์โบราณมานานร่วมศตวรรษแล้ว แม้มีความเห็นที่แตกต่างเรื่องจุดประ...
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ “จันทน์เทศ” เครื่องเทศอันล้ำค่าและโด่งดังในอดีต...
จันทน์เทศ (Nutmeg, Myristica fragrans) เดิมเป็นพืชพื้นเมืองของหมู่เกาะโมลุกกะ ประเทศอินโดนีเซีย พื้นที่ซึ่งเคยถูกขนานนามว่า "หมู่เกาะเครื่องเทศ" คริสต...
“แม่ค้าศักดินา” เผยฐานะ-อาชีพของเจ้านายสตรีไทย หลัง 2475
สำรวจฐานะและอาชีพของ เจ้านายสตรี ในไทยภายหลังจากห้วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 และนิยามของคำว่า "แม่ค้าศักดินา"
อาจารย์วีระยุทธ ปีสาลี ได้เขียน...
การเดินทางของ “ข้าวโพด” จากพืชป่าในอเมริกา สู่อาหารของคนและ(ปศุ)สัตว์ทั่วโลก
ข้าวโพด (Corn, Maize) เป็นพืชผลที่สำคัญอันดับต้น ๆ ของโลก ต้นไม้ตระกูลหญ้าลำต้นสูงให้ผลเป็นฝักซึ่งเต็มไปด้วยเมล็ดนี้ นอกจากจะเป็นอาหารสัตว์ชั้นดีแล้วย...
อยุธยาขาย “ยางรัก” ส่งตลาดนอกฟันกำไรอย่างงาม แม้ผลิตเองไม่ได้
"รัก" ที่คนไทยใช้เรียก "น้ำรัก" หรือ "ยางรัก" นั้น ไม่สามารถหาได้ในลุ่มแม่น้ำเจ้าพระยาตอนล่าง เพราะสภาพแวดล้อมไม่เอื้ออำนวย ดังนั้น การได้ยางรักมาจึงม...
ขุนนิพัทธ์จีนนคร ผู้บุกเบิกหาดใหญ่ยุคแรกสุด อุทิศที่ดิน พัฒนาจากป่าสู่เมืองใหญ่
เมื่ออายุได้ 19 ปี หนุ่มจีนจากมณฑลกวางตุ้งโดยสารเรือญี่ปุ่นเข้ามาถึงบางกอก ต่อมาจึงเป็นลูกจ้างในบริษัทรับเหมาสร้างทางรถไฟสายใต้ ในแผ่นดินพระพุทธเจ้าหล...
ปากพิง-คลองพิง คลองสำคัญบนเส้นทางสัญจร-การค้า-สงคราม ในปวศ.ไทย
ปากพิง คือส่วนหนึ่งของ “คลองพิง” เป็นคลองเชื่อมระหว่างแม่น้ำสำคัญ 2 สาย คือ แม่น้ำน่านกับแม่น้ำยม บริเวณปากคลองที่เชื่อมกับแม่น้ำน่านเรียกว่าปากพิง แล...
สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส เหมือนหรือต่างจากสนธิสัญญาเบาว์ริง ที่ไทยทำกับอังกฤษ อย่า...
สนธิสัญญาสยาม-ฝรั่งเศส ฉบับวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1856 (พ.ศ. 2399) คือข้อตกลงระหว่างสองชาติที่สืบเนื่องจากสนธิสัญญาเบาว์ริง ระหว่างสยาม-อังกฤษ ซึ่งกระ...
นโยบายผูกขาดค้าข้าว ทศวรรษ 2490 เปิดช่อง ทหาร-ขรก. คอร์รัปชั่น บนความทุกข์ชาวนา
ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 รัฐบาลจำเป็นต้องเข้าควบคุมการค้าข้าวระหว่างประเทศ เนื่องจากประเทศไทยจะต้องส่งมอบข้าวให้แก่สหประชาชาติโดยไม่คิดมูลค่าเป็นจำน...
การค้าพาณิชย์ “ไทย-จีน” ในยุค “จิ้มก้อง” สร้างรายได้มหาศาลในช่วงต้นรัตนโกสินทร์...
เมื่ออยุธยาล่มสลายไปในปี 2310 การค้าการพาณิชย์...ก็ถึงกาลอวสานไปด้วย กว่าจะฟื้นตัวเริ่มขึ้นใหม่ก็กินเวลากว่าทศวรรษ ดังเห็นได้จากพระราชกรณียกิจในด้าน “...
ร่องรอย “ทรงวาด” ย่านการค้าสำคัญ สู่ลมหายใจในปัจจุบัน
ถอดรหัสคุณค่าของ "ถนนทรงวาด" ระยะทาง 1.2 กม. เป็นย่านการค้าบุกเบิกแห่งแรกในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ที่ยังมีชีวิตชีวาในปัจจุบัน ถนนเส้นนี้ส่งอิทธิพลต่อเศรษฐ...