เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก กรุงเทพ

แท็ก: กรุงเทพ

พระสังฆราชปาลเลอกัวซ์ วัดคอนเซ็ปชัญ ศาสนาคริสต์

วัดคอนเซ็ปชัญ วัดที่สังฆราชปาลเลอกัวซ์ผูกพัน และบรรจุร่างไว้หลังมรณภาพ

ศาสนาคริสต์ นิกายโรมันคาทอลิก เผยแผ่มาตั้งแต่สมัยอยุธยา ทำให้เกิดการสร้างศาสนสถานสำหรับประกอบศาสนกิจ ซึ่งวัดสำคัญแห่งหนึ่งในยุคนั้น ที่สร้างตั้งแต่สมั...
คลอง วัดหัวกระบือ ย่านหัวกระบือ เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร

“ย่านหัวกระบือ” ในเขตบางขุนเทียน กทม. มีที่มาจากไหน?

“ย่านหัวกระบือ” เป็นย่านหนึ่งที่ตั้งอยู่ใน เขตบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร ปรากฏสถานที่สำคัญ อย่าง “วัดหัวกระบือ” และ “คลองหัวกระบือ” ด้วยชื่อที่เป็นเอกล...
ถนนสายประวัติศาสตร์

10 ถนนสายประวัติศาสตร์ ที่อยู่ในเหตุการณ์สำคัญมาแต่สร้างกรุงเทพฯ

เมื่อสถาปนากรุงเทพมหานครเป็นราชธานี เป็นที่ประทับของพระมหากษัตริย์ เป็นศูนย์กลางบริหารราชการแผ่นดิน นอกจากพระบรมมหาราชวัง, ป้อมปราการและแนวกำแพงแล้ว ย...
พระราชโอรสและพระธิดารัชกาลที่ 5 นามสกุล

ก่อนจะใช้ “ณ อยุธยา” เคยมี “ณ กรุงเทพฯ” เป็นสร้อยนามสกุลเจ้านาย

บทความเรื่องเกี่ยวกับ นามสกุล ณ กรุงเทพฯ นี้คัดมาจากส่วนหนึ่งของ “ป้าป้อนหลาน” หม่อมเจ้าหญิง ดวงจิตร จิตรพงศ์ พระธิดาของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ...
บางบอน เขตบางบอน คลองบางบอน

เปิดประวัติเขต (คลอง) บางบอน ฤๅเกี่ยวกับใบบอน?

ใน พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 คำว่า “บาง” คือ ทางน้ำเล็ก ๆ และถิ่นฐานบ้านเรือนที่อยู่ใกล้ ส่วน “บอน” นั้น น่าจะมาจากพืชที่มีใบใหญ่คล้ายรูปห...
อารีย์ ซอยอารีย์ กรุงเทพฯ

“อารีย์” ย่านดังในกรุงเทพฯ มีที่มาจากไหน?

“อารีย์” ถือเป็นย่านหนึ่งที่เต็มไปด้วยคนพลุกพล่าน อาจเพราะอยู่ในตัวเมือง กรุงเทพฯ รวมถึงมีร้านอาหาร แหล่งท่องเที่ยว และสถานที่สำคัญทางราชการมากมาย หาก...
ตลาด ใน กรุงเทพ กลิ่นเหม็นในกรุงเทพฯ

“กลิ่นเหม็นในกรุงเทพฯ” สมัยรัชกาลที่ 5-7 มีที่มาจากอะไรบ้าง?

“กลิ่นเหม็นในกรุงเทพฯ” ปัจจุบันสืบเนื่องจากอะไร ไม่ต้องกล่าวถึงก็ทราบกันดีอยู่ หากในอดีตกรุงเทพฯ ช่วงรัชกาลที่ 5-7 อะไรที่ส่ง “กลิ่นเหม็น” ให้จมูกคนกร...
ถนนลูกหลวง

“ถนนลูกหลวง” มาจากไหน ลูกหลวงที่ว่าคือใครบ้าง?

หลังจากมีคอนเทนต์ “ถนนหลานหลวง” ไปว่า “หลาน” ที่ว่าในถนนเส้นนี้คือพระองค์ใด (อ่านต่อได้ที่นี่) ครั้งนี้จึงได้โอกาสมาอธิบาย “ถนนลูกหลวง” บ้าง ว่า “ลูก”...
ป้าย ถนนพัฒน์พงศ์ พัฒน์พงศ์

ถนน “พัฒน์พงศ์” มาจากไหน?

ถนนพัฒน์พงศ์ เป็นถนนสายสั้น ๆ เชื่อมระหว่าง ถนนสุรวงศ์ และ ถนนสีลม ชื่อถนนสายนี้ มีที่มามาจากชื่อบรรดาศักดิ์ของ "หลวงพัฒน์พงศ์พาณิช" หลวงพัฒน์พงศ์พา...
จิตรกรรม ฝาผนัง พระอุโบสถ วัดปทุมวนารามราชวรวิหาร

พระตีหัวฝรั่งย่านวัดเกาะ ดราม่ายุคแรกช่วงบางกอก กรุงเทพฯ เริ่มเจริญด้วยการค้า-ต่...

ก่อนที่คนยุคดิจิทัลมีโอกาสสัมผัสกับคลิปเหตุการณ์ "ดราม่า" กับคดีเกี่ยวกับความรุนแรง หรือจับโป๊ะแตกรายวัน สมัยยุคแรกเริ่มที่บางกอกเจริญช่วง ต้นรัตนโกสิ...
พระราชฐานชั้นใน มี ธรรมเนียมแจ้งเข้า-ออกวัง

เปิดธรรมเนียมเข้า-ออก “พระราชฐานชั้นใน” หากใครนอนค้างห้ามกางมุ้ง!

ธรรมเนียม ในพระราชสำนัก เป็นสิ่งที่ชาววังยึดถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัดมานานนับร้อยปี เพราะอาณาบริเวณพระบรมมหาราชวังถือเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ เนื่องจากเ...
ตึกราบ้านช่อง ย่าน สุขุมวิท เต็มไปด้วย ต้นไม้ อาคาร ที่อยู่อาศัย

ย้อนดูย่าน “สุขุมวิท” ในอดีต ห่างไกลความเจริญจนเรียกว่าไป “ดาวอังคาร”

โบราณว่าไว้ ให้ที่ดินแถบ “สุขุมวิท” ก็เหมือนพ่อแม่ไม่รัก แต่คนสมัยนี้เมื่อได้ฟังต่างเถียงหัวชนฝา เพราะปลายปี 2565 กรมธนารักษ์ ประกาศราคาประเมินที่ดินใ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น