เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 27 มีนาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก กรุงศรีอยุธยา

แท็ก: กรุงศรีอยุธยา

ทุ่ง ป่า และภู เพื่อล่าโพนช้าง ของสมเด็จพระนารายณ์

ผู้เขียนเป็นชาวลพบุรี คุ้นเคยกับวัง วัด และโบราณสถานที่นั่น ตลอดจนทุ่งนา ป่าเขาของเมืองแห่งประวัติศาสตร์นี้ค่อนข้างมากมาแต่ครั้งเรียนหนังสือชั้นมัธยม ...

ลำดับเหตุการณ์การรัฐประหารพระนารายณ์

ลำดับเหตุการณ์การรัฐประหารพระนารายณ์ 23 กันยายน พ.ศ. 2228 คณะราชทูตไทยที่ไปฝรั่งเศสกลับถึงกรุงศรีอยุธยา คณะราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 เดินทางเข้ามา...

สืบที่มาคติ “จักรพรรดิราช” แบบไทย ๆ ราชาเหนือราชา แต่ยกจีนเป็น “พี่ใหญ่”...

แนวคิด "จักรพรรดิราช" หรือราชาเหนือราชาทั้งปวง เป็นคติความคิดทางการเมืองเพื่อการกระชับอำนาจและสร้างสิทธิ์โดยชอบ (อาญาสิทธิ์) ของชนชั้นนำไทยมาตั้งแต่สม...

คุ้ยตำนาน “พระเจ้าตาก” ใคร “วิ่งเต้น” ตำแหน่งเจ้าเมืองตากให้-ได้เป็นตอนไหน...

พระเจ้าตาก เปิดตัวครั้งแรกในฐานะ “พระยาตาก” ในพระราชพงศาวดารเมื่อปีระกา พุทธศักราช 2308 เป็นช่วงที่กองทัพพม่าล้อมกรุงศรีอยุธยาในสงคราม “กรุงแตก” ครั้ง...

วัดกลางนา-วัดโพธาราม-วัดสะแก วัดเก่าสมัยอยุธยาอยู่ที่ไหนใน กทม.

เมืองบางกอก หรือกรุงเทพฯ ในปัจจุบัน เป็นเมืองท่าและเมืองหน้าด่านสำคัญของกรุงศรีอยุธยา สภาพโดยทั่วไปของบางกอกยังคงเป็นป่าที่อุดมด้วยสัตว์นานาชนิด มีชุม...

“อยุธยา” ที่ไม่ใช่ราชธานี แต่เป็นจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย

เมื่อกรุงศรีอยุธยาเสียใน พ.ศ. 2310 แม้บ้านเมืองจะถูกทำลายเสียหาย, ชาวเมืองอพยพหนีภัยสงคราม หรือถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลย และสิ้นฐานะ “ราชธานี” อายุกว่า 40...

สำรวจ “ทุ่งโบราณ” แห่งกรุงศรีอยุธยา แหล่งอู่ข้าวอู่น้ำและรับศึกพม่า

เมื่อหลายปีก่อน ผู้เขียนเคยนั่ง ฮ. ผ่านอยุธยา ได้เห็นเมืองนั้นแบบตานก เป็นเกาะล้อมด้วยแม่น้ำและคูคลองสวยงาม ที่สะดุดตาที่สุดก็คือทุ่งนาข้าวสีมรกต ด้วย...
ภาพ ชาวบ้าน จิตรกรรม วัดเขียน

วิถีสตรีกรุงศรี เป็นเมียไพร่ ต้องทรหดอดทน ใช้แรงงาน-ถูกจับแต่งงานเลี่ยงโดนนำเข้า...

ในสังคมอยุธยา ผู้หญิงมีบทบาทดูแลบ้านช่องและพื้นที่การเพาะปลูกในชุมชน เมื่อยามที่ผู้ชายถูกเกณฑ์ไปรับใช้รัฐและบรรดาเจ้าขุนมูลนาย เมื่อต้องอยู่เหย้าเฝ้าเ...

ทำไมโปรตุเกสเป็นยุโรปชาติแรกที่ตั้งถิ่นในสยาม สู่อิทธิพลการทหาร-การค้า-ศาสนา

เป็นที่ทราบกันดีว่าชาวโปรตุเกสเป็นชาวยุโรปชาติแรกที่เข้ามาเจริญไมตรีกับสยาม หลังจากนั้นก็ตามมาด้วยความสัมพันธ์ระหว่างชาวสยามกับชาวโปรตุเกสทั้งในด้านกา...

ข้อสงสัยในบทบาทของ “ออกญาเสนาภิมุข” ขุนนางราชสำนักอยุธยาเชื้อสายญี่ปุ่น

ยามาดะ นางามาซะ ชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาแสวงโชคในเมืองไทย และได้ดิบได้ดีจนได้เป็น “ออกญาเสนาภิมุข” เจ้ากรมอาสาญี่ปุ่น มีชื่อปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณหลายฉบับ ...

พม่าขุดอุโมงค์อย่างไร? รบกับอยุธยาในอุโมงค์ “ฆ่าฟันล้มตายกันมาก” สมัยพระเจ้าตากส...

หมายเหตุ-เรื่องนี้ไม่อาจสรุปให้ชัดเจนได้เพราะทำไปทำมาข้อมูลยังไม่แน่นพอ ขอให้อ่านพอเป็นฐานแล้วช่วยกันหาคำตอบที่ชัดเจนกว่านี้ ผมเคยเขียนเรื่อง รบพม่...

มุมน่าสะพรึงกลัวของ “พระนเรศวร” จากบันทึกวัน วลิต กับงานเขียนโต้ของคึกฤทธิ์...

วัน วลิต หรือ เยเรเมียส ฟาน ฟลีต (Jeremais van Vliet) เป็นพ่อค้าชาวดัตช์ ของบริษัทอินเดียตะวันออกของดัตช์ เดินทางเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาในสมัยสมเด็จพระ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น