เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาษาจีน

แท็ก: ภาษาจีน

หนู

ทำไมคนไทยใช้คำว่า “หนู” เรียกแทนตัวเอง หรือคนอายุน้อยกว่า

คำสรรพนามในภาษาไทยมีมากมายสารพัด ไม่ว่าจะเป็น ข้า เอ็ง เรา ฉัน ท่าน เธอ คุณ ผม กู มึง ฯลฯ แต่มีคำหนึ่งคือคำว่า "หนู" ที่ดูผิดแผกจากคำอื่น เพราะเหมือนเ...
เรือ จีน ไต้ก๋ง

เปิดความหมายคำว่า “ไต้ก๋ง” คำจีนที่ไม่ใช่ทุกคนจะเป็นได้?

“ไต้ก๋ง” ใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 บัญญัติความหมายไว้ว่า นายท้ายเรือสำเภาหรือเรือจับปลา และหากลองฟังเสียงดูหลายคนน่าจะเดาได้ว่าคำนี้มา...
ภาษาจีน ภาษแต้จิ๋ว

ภาษาแต้จิ๋ว เคยเป็นภาษาในแวดวงธุรกิจไทย ใครพูดได้เถ้าแก่รับทำงาน

หากย้อนกลับไป 50-60 ปีก่อน หรือมากกว่านั้น แวดวงธุรกิจของสังคมไทยจำนวนไม่น้อยใช้ภาษาจีนล้วนๆ หรือภาษาไทยคำจีนคำ ในการสื่อสาร แต่ภาษาจีนที่ว่า ไม่ใช่ภา...
ห้าง เยาวราช ท่องเที่ยว ชาว จีน

ย้อนดูพัฒนาการคำว่า “ห้าง” จากศัพท์จีนทั่วไปสู่คำที่คนไทยติดปาก!

“ห้าง” เป็นคำที่คนไทยมักใช้เรียกแทนสถานที่จำหน่ายสินค้าหรือสถานที่ประกอบธุรกิจ คำว่าห้างอยู่คู่กับคนไทยมานาน ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็จะพบเจอกับสิ่งที่เรี...
จิตรกรรม ฝาผนัง วัดสุทัศน์ ผู้หญิง นางใน

“หลี” ในคำว่า “หลีสาว” มีที่มาจากไหน ?

คำว่า "หลี" แปลว่าอะไร? คำว่า "หลี" ใน "หลีสาว" มีที่มาจากไหน ? "หลี" ในภาษาจีนมีหลายคำเช่น "หลี" ที่เป็นแซ่หนึ่งของจีน อันเป็นแซ่ของพระจักรพรรดิจี...
ไข่เจียว เจียว พรหมลิขิต โป๊ป เบลล่า

คนใดที่ถูกเจียว! “ไข่เจียว” เมนูกินง่ายขวัญใจคนไทย “เจียว” ในที่นี้คือภาษาอะไร

ใน “พรหมลิขิต” ละครสุดฮิตติดเทรนด์ที่ฉายผ่านช่อง 3 ปรากฏฉากที่ พุดตาน (รับบทโดย เบลล่า ราณี แคมเปน) กำลัง “เจียว” ไข่เจียวจนฟูกรอบ หอมฟุ้งกลิ่นตลบอบอว...
แบบเรียน ภาษาไทย

ไม้ตรี ไม้จัตวา : อิทธิพลภาษาจีนในภาษาไทย

คำยืมภาษาจีน มีการนำมาใช้ทับศัพท์จนเป็นคำคุ้นเคยในชีวิตประจำวัน เช่น ยืมคำศัพท์ฮกเกี้ยน ได้แก่ ฮ่องเต้, ฮองเฮา, ก๊ก (แคว้น, ประเทศ) ฯลฯ ศัพท์แต้จิ๋ว ไ...
เขียน อักษรจีน

“แมนดาริน” คืออะไร? ทำไมเรียกภาษาจีนกลางว่า “แมนดาริน”

ภาษาจีนกลาง เป็นภาษากลางและภาษาราชการของประเทศจีน แต่ชาวตะวันตกเรียกว่า ภาษาแมนดาริน (Mandarin Language) คำว่า “แมนดาริน” มาจากไหน? ทำไมชาวตะวันตกจึงเ...
หลุมศพ สุสานจีน ชลบุรี เช็งเม้ง

เช็งเม้ง ไหว้บรรพบุรุษผิดตัว ไม่ใช่แค่ปัญหาภาษาจีน แต่เป็นเพราะอะไร?

ปัญหาการไปไหว้บรรพบุรุษที่สุสานในเทศกาล "เช็งเม้ง" ยุคหนึ่ง คือการไหว้ผิดหลุม จนมีเรื่องเล่าจากประสบการณ์จริงของบางครอบครัว ขณะที่บ้านหนึ่งกำลังรอใ...

เมื่อคนแต้จิ๋ว (ใน) ไทยใช้ “คำยืมจากภาษาไทย” ในภาษาแต้จิ๋ว ?!?

ในแวดวงวิชาการ มีงานเขียนจำนวนไม่น้อยที่นำเสนอบทความเกี่ยวกับอิทธิพลของภาษาจีนในภาษาไทย ซึ่งภาษาที่ว่าจำนวนไม่น้อยมาจาก "ภาษาแต้จิ๋ว" นั่นเป็นเพราะคนแ...

เกาเหลา ของอร่อยที่คนไทยคุ้น แต่ไม่มีในอาหารจีน ปาท่องโก๋ ต้นฉบับก็คนละแบบ

"เกาเหลา" เป็นคำที่พบได้บ่อยในร้านขายอาหารทั้งหลายในไทยเมื่อมีผู้สั่ง "ก๋วยเตี๋ยวที่ไม่ใส่เส้น" อย่างไรก็ตาม คำนี้ไม่มีในรายชื่ออาหารจีน ขณะที่ "ปาท่อ...

“อับปาง” เป็นคำจากภาษาจีน? อ่านข้อสันนิษฐานของพระยาอนุมานราชธน

"อับปาง" แปลว่า ล่ม จม หรือแตก มักใช้แก่เรือเดินทะเล ในหนังสือ "บันทึกความรู้เรื่องต่าง ๆ เล่ม 4" พระยาอนุมานราชธน อธิบายว่าเป็นคำในภาษาจีน เรื่องนี้...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น