เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก กรุงเทพมหานคร

แท็ก: กรุงเทพมหานคร

ถนน ลาดพร้าว กรุงเทพมหานคร

สงสัยไหม ทำไม “ลาดพร้าว” หนึ่งในเขตของกรุงเทพมหานคร ถึงได้ชื่อนี้?

“ลาดพร้าว” เป็นหนึ่งใน 50 เขตทั้งหมดของ กรุงเทพมหานคร เชื่อกันว่า คนในอดีตเรียกพื้นที่แถบนี้ว่า ทุ่งบ้านลาดพร้าว ตำบลลาดพร้าว มาตั้งแต่มี พระราชบัญญัต...
ฝังคนทั้งเป็น ความเชื่อ ชาวสยาม รักษาบ้านเมือง

“ฝังคนทั้งเป็น” ตำนานสยองของไทยในบันทึกฝรั่ง

เรื่องการ “ฝังคนทั้งเป็น” ใน "กำแพงเมือง" ก็ดี "ศาลหลักเมือง" ก็ดี หรือสิ่งก่อสร้างขนาดใหญ่ต่างๆ เพื่อหวังให้วิญญาณผู้ตาย เฝ้ารักษาบ้านเมือง หรือสิ่งก...
ปากคลอง บางลำพู คลองบางลำพู กรุงเทพ พระนคร เรือ ใน คลอง

กรุงเทพมหานคร เมื่อประมาณร้อยปีก่อนหน้าตาเมืองเป็นอย่างไร

กรุงเทพมหานคร หรือ จังหวัดพระนคร และจังหวัดธนบุรี ที่มีทั้งสิ้น 21 อำเภอ ในสมัยรัชกาลที่ 7 หรือเมื่อร้อยกว่าปีก่อน เมืองมีหน้าตาเป็นอย่างไร พอมีเค้าว่...
ถนนเจริญกรุง รถราง

ถนนเจริญกรุง ฝุ่นจับ-สกปรก มี “ตรอกอาจม” ร.5 ทรงกำชับทำให้สะอาดก่อนต่างชาติมา...

ถนนเจริญกรุง ฝุ่นจับ-สกปรก มี "ตรอกอาจม" รัชกาลที่ 5 ทรงกำชับทำให้สะอาดก่อนต่างชาติมา ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 ทรงย้ายราชธานีมาสร้างกรุงเทพฯ บ้านเมืองก็ม...
น้ำท่วม กรุงเทพมหานคร ห่าฝน ฝนตกหนัก

จากกรุงธนบุรี สู่ “กรุงเทพฯ” เมืองหลวงที่มีชื่อยาวที่สุดในโลก

กรุงเทพมหานคร เป็นเมืองหลวงของประเทศ ตั้งแต่รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงมีพระราชดำริว่า กรุงธนบุรี เมืองหลวงเดิมตั้งอยู่ในที่คับแคบ ...
ภาพมุมสูง กรุงเทพมหานคร กรุงเทพฯ มองเห็น พระบรมมหาราชวัง สนามหลวง

กรุงเทพฯ ที่มีเขมร (จาม) ขุดคูเมือง และลาวสร้างกำแพงพระนคร

เมื่อรัชกาลที่ 1 ทรงสถาปนา กรุงเทพฯ เป็นเมืองหลวง การก่อสร้างต่างก็ค่อยๆ เริ่มขึ้น ไม่ว่าจะเป็นพระบรมมหาราชวัง, ประตูและป้อมปราการของพระราชวัง, กำแพงพ...
โรงแรมโอเรียนเต็ล ภัตตาคาร กินข้าวนอกบ้าน

“กินข้าวนอกบ้าน” ฮิตในกทม.เมื่อไหร่ ชนชั้นสูงนิยมแม้กินกลางตลาดเคยเป็นภาพชนชั้นล...

การกินข้าวกลางตลาด หรือ "กินข้าวนอกบ้าน" ถือเป็นเรื่องปกติของชนชั้นล่างในช่วงรัชกาลที่ 1 ถึงรัชกาลที่ 4 ขณะที่ชนชั้นสูงมีวัฒนธรรมการกินที่สัมพันธ์กับส...
สะพานพระราม 8

สะพานพระราม 8 ทัศนะอุจาด ทำลาย “ประวัติศาสตร์” ของ “เมือง”-กรุงเทพฯ...

หลังจาก สะพานพระราม 8 เปิดใช้งานอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2545 ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นของคนส่วนใหญ่ต่อสะพานพระราม 8 ล้วนเป็นไปในเชิงบวกแทบทั้...
กรุงเทพ พระบรมมหาราชวัง

ความเป็นกรุงเทพฯ ที่แท้จริง เริ่มสมัย “รัชกาลที่ 3”

พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ทรงมีบทบาทอย่างมากต่อการสร้างความเป็นกรุงเทพฯ เพราะกรุงเทพฯ ไม่ได้สร้างเสร็จในปีเดียว แม้ในแผ่นดิน...

เปิดแง่มุม “กรุงธน-กรุงเทพฯ” ที่ (อาจ) ไม่รู้จัก ผ่านโบราณคดีเมืองและแผนที่

เรื่องราวของ กรุงธน และ กรุงเทพฯ อาจมีการศึกษาวิจัยแล้วมากมาย แต่ก็ยังมีเรื่องราวอีกไม่น้อยที่รอการค้นพบผ่านแง่มุมของโบราณคดีเมืองและแผนที่ ซึ่งเวที “...
เยาวราช แหล่งรวมสินค้าต่างๆ จากเมืองจีนตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน

“สำเพ็งและเยาวราช” อดีตย่านกลางคืนของกรุงเทพฯ

ย่านกลางคืนของเมืองเป็นย่านการค้าหรือเป็นพื้นที่สาธารณะกลางคืนของเมืองที่เป็นแหล่งรวมผู้คนให้เข้ามาแสวงหาสินค้าและบริการต่างๆ เพื่อความสำราญในยามราตรี...

มติคณะรัฐมนตรี 4 กรกฎาคม 2488 ฟันธง! อนุสาวรีย์สาธารณะในพื้นที่กรุงเทพฯ ใครดูแล?...

อนุสาวรีย์สาธารณะในพื้นที่กรุงเทพฯ อาทิ อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย อนุสาวรีย์ปราบกบฏ ใครดูแล? จะเป็นกรมศิลปากร กทม. หรือผู้สร้าง? จ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น