เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 18 มิถุนายน พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก อินเดีย

แท็ก: อินเดีย

สำนวน ดวงไม่ถึงฆาต มาจาก วัฒนธรรมอินเดีย เรื่อง การปลงศพ

“ดวงไม่ถึงฆาต” ที่มาของสำนวนไทย ติดปากจากวัฒนธรรมอินเดีย?

“ดวงไม่ถึงฆาต” สำนวนไทยติดปากจาก วัฒนธรรมอินเดีย ที่ได้จาก “การปลงศพ” ประเทศไทยได้รับอิทธิพลจาก “วัฒนธรรมอินเดีย” หลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็น ภาษา, วรรณกร...
ชุมชนอินเดีย ชุมชนอินเดีย

ชุมชนอินเดียไม่ได้มีแต่ “พาหุรัด” 4 ชุมชนใหญ่ของชาวอินเดียอยู่ที่ไหนในพระนคร 

ชุมชนอินเดียไม่ได้มีแต่ “พาหุรัด” 4 ชุมชนใหญ่ของชาวอินเดียอยู่ที่ไหนในพระนคร  ชาวอินเดีย เดินทางเข้ามาไทยเพื่อค้าขายเครื่องประดับ, เครื่องทองเหลือง ร...
เจองูเจอแขก ตีแขกก่อน

“เจองูเจอแขก ตีแขกก่อน” ประโยคที่ได้ยินบ่อยครั้งนี้มีที่มาจากอะไร?

เวลามีเรื่องราวเกี่ยวกับคนที่มีลักษณะตรงตามที่คนไทยคิดว่าเป็น “คนแขก” แล้วเป็นเหตุการณ์ที่ไม่ดีนัก เชื่อว่าหลายครั้งคนไทยก็จะนึกถึงคำกล่าวที่ว่า“เจองู...
เพชรโกอินัวร์ เพชรประดับยอดมงกุฎกษัตริย์อังกฤษ อินเดีย

ฉายา “เพชรประดับยอดมงกุฎกษัตริย์อังกฤษ” น้อยไปไหมสำหรับอินเดีย

ฉายา “เพชรประดับยอดมงกุฎกษัตริย์อังกฤษ” น้อยไปไหมสำหรับอินเดีย อินเดียถูกขนานนามว่าเป็น “เพชรประดับยอดมงกุฎกษัตริย์อังกฤษ” ซึ่งเรามักเข้าใจว่าที่เป็น...

“มนตร์ของพราหมณ์” ใช้สวดเพื่อเป็นสิริมงคล มีกี่แบบ?

“มนตร์” (มาจากคำสันสกฤตว่า มนฺตฺร ส่วน “มนต์” มาจากภาษาบาลีว่า มนฺต) พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายว่า คำศักดิ์สิทธิ์ คำสำหรับสวดเพื่อเป็นสิริ...

ทำไมชาวฮินดูในอินเดียเรียกศาสนาตัวเองว่า “สนาตนธรรม” ไม่ใช่พราหมณ์-ฮินดู?

เรามักเข้าใจกันว่า ชาวฮินดูในอินเดียเรียกศาสนาของตัวเองว่า “ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู” แต่ที่จริงแล้วกลับเรียกว่า “สนาตนธรรม” ทำไมถึงเรียกเช่นนี้? ผศ. คมกฤช...
โรเบิร์ต ไคล์ฟ นายพล ของ จักรวรรดิอังกฤษ ทำ สงครามพลาสลีย์ ใน อินเดีย แบ่งแยกแล้วปกครอง

“แบ่งแยกแล้วปกครอง” นโยบาย “เขมือบ” อินเดียของจักรวรรดิอังกฤษ

“แบ่งแยกแล้วปกครอง” นโยบาย “เขมือบ” อินเดียของจักรวรรดิอังกฤษ การครอบครอง “อินเดีย” ของ “จักรวรรดิอังกฤษ” ถือเป็นความสำเร็จอันยิ่งใหญ่ของลัทธิจักรวรร...
หวีเก่าที่สุดในสยาม

“หวีเก่าที่สุดในสยาม” นำเข้าจากอินเดีย อายุถึง 2,000 ปี

"หวีเก่าที่สุดในสยาม" นำเข้าจากอินเดีย อายุถึง 2,000 ปี หวี ที่เราใช้หวีทุกวันนี้ มีมาแต่เมื่อไหร่นั้น ยังไม่ทราบ แต่ในดินแดนไทย พบหลักฐานหวีที่เก่าท...
โฮลี อินเดีย สงกรานต์ สงกรานต์ไทย

“โฮลี” เทศกาลสาดสีของอินเดีย เกี่ยวข้องกับสงกรานต์ไทยจริงหรือ?

“เทศกาลโฮลี” ของอินเดีย เกี่ยวข้องกับสงกรานต์ไทยจริงหรือ? “โฮลี” เทศกาลสาดสีอันโด่งดังของ “อินเดีย” หลายคนมองว่าอาจเกี่ยวข้องกับเทศกาลสาดน้ำ หรือประเ...
อโศกมหาราช พระเจ้าอโศกมหาราช

อโศกมหาราช กับจุดเปลี่ยนที่พระองค์นับถือพุทธ ล้างพระนาม “อโศกผู้โหดเหี้ยม”...

พระเจ้าอโศกมหาราช กับจุดเปลี่ยนที่พระองค์นับถือ พระพุทธศาสนา ล้างพระนาม "อโศกผู้โหดเหี้ยม" ส.สีมา เขียนถึง "อโศกมหาราช" ผู้มีพระชนมชีพในห้วง พ.ศ. 218...
เจ้าหญิงสี่ เจ้าหญิงใหญ่ เจ้าหญิงสาม เจ้าหญิงสอง หนังสือ ราชันผู้พลัดแผ่นดิน เมื่อพม่าเสียเมือง ประกอบเรื่อง พระธิดาในพระเจ้าธีบอ

เส้นทางรักเจ้าหญิงสี่ พระธิดาในพระเจ้าธีบอ ผู้เป็นใหญ่ในบ้านและขัดแย้งกับพี่น้อง...

เปิดเส้นทางรักเจ้าหญิงสี่ พระธิดาในพระเจ้าธีบอ ผู้เป็นใหญ่ในบ้านและขัดแย้งกับพี่น้อง ตลอดระยะเวลากว่า 3 ทศวรรษ พระเจ้าธีบอ กษัตริย์พม่าซึ่งถูกเนรเทศจ...
ภควัทคีตา คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ พระกฤษณะ อรชุน มหาภารตะ

“ภควัทคีตา” คัมภีร์แห่งการนำพามวลมนุษย์ข้ามพ้นสรวงสวรรค์ ที่มา “รบเถิดอรชุน”

รู้จัก ภควัทคีตา คัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์แห่งการนำพามนุษย์ข้ามพ้นสรวงสวรรค์ “มนุษย์ย่อมทำกรรมดีเพราะหวังสวรรค์ในภพหน้า” นี่คือความเชื่อพื้นฐานของหลาย ๆ ศา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น