เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก อินเดีย

แท็ก: อินเดีย

ศกุนตลา ท้าวทุษยันต์

“ศกุนตลา” กับวิบากกรรมที่ไม่ได้ก่อ ทุกข์ของหญิงคนหนึ่งที่ถูกฉาบด้วยความ “โรแมนติ...

ศกุนตลา นิทานที่แทรกอยู่ในมหากาพย์ “มหาภารตะ” ของ อินเดีย เรื่องราวของสตรีผู้ต้องฝ่าฟันอุปสรรคมากมายกว่าจะมีชีวิตที่ดีได้ในตอนท้ายของเรื่อง ศกุนตลา...
วิวาห์ฮินดู แต่งงาน อินเดีย

“วิวาห์ฮินดู” พิธีแต่งงานอินเดียสุดอลังการ ดั่งเทศกาลแห่งปี

ว่ากันว่า พิธีแต่งงาน ใน อินเดีย โดยเฉพาะของชาวฮินดู หรือ “วิวาห์ฮินดู” คือส่วนผสมระหว่างพิธีกรรมทางศาสนาและความเป็นคฤหัสถ์ เพราะมีครบทั้ง “ทางโลก” แล...
อินเดีย คนอินเดีย แขก ที่ โกลกาตา

ทำไมคนไทยเรียกคนอินเดียว่า “แขก” ?

อย่างที่รู้กัน คนไทยมักมีคำเรียกแทนตัวชนชาติอื่น ๆ อยู่มากมาย เช่น ฝรั่ง ที่ใน พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 บัญญัติไว้ เรียก “ชนชาติผิวขาว”,...
ชลาคาร จัน เบารี บ่อน้ําขั้นบันได อินเดีย

“ชลาคาร” วิหารใต้พิภพอินเดีย อาคารมหึมาในหลุม ใครสร้าง?

ในบรรรดาสิ่งก่อสร้างมหัศจรรย์แห่งอดีต มี “วิหารหิน” ของอินเดียประเภทหนึ่ง เรียกว่า “ชลาคาร” ที่เก่าแก่และโอ่อ่าตระการตาไม่น้อยไปกว่าปราสาทขอมและชวา แต...
ชาวอังกฤษ ใน ดาร์จีลิง ทำ ชาดาร์จีลิง

“ดาร์จีลิง” เมืองแห่งเทือกเขาหิมาลัย ต้นกำเนิด “ชาดาร์จีลิง” ชาดังอันดับต้นของโล...

ดาร์จีลิง (Darjeeling) เป็นเมืองในรัฐเบงกอลตะวันตก ทางตะวันออกเฉียงเหนือของอินเดีย ด้วยสภาพภูมิประเทศที่เหมือนอยู่ในอ้อมกอดของเทือกเขาหิมาลัย ดาร์จีลิ...
พระอินทร์

ไขปัญหา “พระอินทร์” จากเทพเจ้า-แม่ทัพสวรรค์ของชนเผ่าอารยัน สู่ความเสื่อมถอยในอิน...

ไขปัญหา “พระอินทร์” จากเทพเจ้า-แม่ทัพสวรรค์ของชนเผ่า “อารยัน” สู่ความเสื่อมถอยในอินเดีย ความนํา คนไทยโดยมากรู้จักพระอินทร์หรือ Indra ผ่านพระพุทธศาสน...
พระยม ยมราช พระธรรมเทพ

“พระยม” เทพประจำทิศทักษิณ เจ้าแห่งนรกและความตาย ผู้ทรง “กระบือ” เป็นพาหนะ

พระยม (Yama) เทพประจำทิศ “ทักษิณ” (ทิศใต้) เป็นที่รู้จักในหลายพระนาม ทั้งพญายม พระยมราช มัจจุราช และ ธรรมเทพ พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 อธ...
พระเจ้าอโศกมหาราช แห่ง จักรวรรดิเมารยะ หรือ โมริยะ ไหว้พระสงฆ์ พระพุทธศาสนา

จักรวรรดิเมารยะ หลังสิ้น “พระเจ้าอโศกมหาราช”

จักรวรรดิเมารยะ (Maurya Empire) ในสมัยของ พระเจ้าอโศกมหาราช (268-232 ปีก่อนคริสตกาล) ถือเป็นช่วงเวลาที่มีอาณาเขตกว้างใหญ่ไพศาล และเรืองอำนาจที่สุด จัก...
ภาพถ่าย พระเจ้าธีบอ และ พระราชินีศุภยาลัต

เบื้องหลังอันน่าสลด พระศพพระเจ้าธีบอไม่ได้หวนคืนพม่า ทั้งที่สิ้นพระชนม์กว่าร้อยป...

พม่าถูกอังกฤษเข้ายึดครองเมื่อ ค.ศ. 1885 ภายหลังจากสงครามครั้งที่ 3 ระหว่างพม่ากับอังกฤษจบลงในระยะเวลาอันสั้นในเวลาไม่ถึง 2 สัปดาห์ กองทัพอังกฤษเข้ายึด...
สุภัตรา ภูมิประภาส ผู้แปล The Last Mughal เมื่อบัลลังก์ล่ม เดลีร้าง พูดคุยกับ สมฤทธิ์ ลือชัย ใน BookClub: เมื่อบัลลังก์โมกุลล่ม เล่าเหตุล่มสลายของ ราชวงศ์โมกุล

ลางอวสานราชวงศ์โมกุล กับข้อมูลที่หาไม่ได้จากไหน ในเวที ‘BookClub: เมื่อบัลลังก์โ...

ล้วงลึกเรื่องราว เผยความซับซ้อนในเหตุการณ์ล่มสลายของ “ราชวงศ์โมกุล” แห่งอินเดีย ท่ามกลางบรรยากาศสุดเพลิดเพลิน ร่มรื่น ในเวทีเสวนา ‘BookClub: เมื่อบัลล...

“พระเจ้าชาห์ จาฮาน” จักรพรรดิแห่งราชวงศ์โมกุล ผู้สร้าง “ทัชมาฮาล” เพื่อหญิงสาวที...

ทัชมาฮาล อนุสรณ์สถานแห่งความรักที่ยิ่งใหญ่และสถาปัตยกรรมยุคใหม่ที่ประดับไปด้วยเครื่องเพชรพลอยมากมาย สร้างขึ้นโดย พระเจ้าชาห์ จาฮาน จักรพรรดิแห่งราชวงศ...
บะห์ดูร์ ชาห์ ซาฟาร์ ที่ 2 จักรพรรดิองค์สุดท้าย แห่ง จักรวรรดิโมกุล

บะห์ดูร์ ชาห์ ซาฟาร์ ที่ 2 จักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่งโมกุล ถูกฝังลืมไร้นาม ที่สุสา...

บะห์ดูร์ ชาห์ ซาฟาร์ ที่ 2 (Bahadur Shah Zafar II) คือจักรพรรดิองค์ที่ 20 และเป็นจักรพรรดิองค์สุดท้ายแห่ง “จักรวรรดิโมกุล” ที่ปกครองอินเดียกว่า 300 ปี...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น