แท็ก: สุพรรณบุรี
คนไทยคุ้นกับคำ “รถเก๋ง” แต่สมัยก่อนยังมีคำว่า “รถกูบ”…รถกูบ คืออะไร?...
คำเรียกพาหนะ หรือ รถ ที่คนไทยสมัยใหม่คุ้นเคยอย่างดีย่อมต้องมีคำว่า รถเก๋ง แต่สมัยก่อนมีคำที่เลิศไม่แพ้กันอย่าง รถกูบ … รถกูบ คืออะไร?
รถเก๋ง คำนี้เรา...
เส้นทางเสือสุพรรณ “เสือฝ้าย” ถึง “เสือใบ” กับเหตุเบื้องลึก เป็นผู้ร้ายแบบไม่ตั้ง...
เฉพาะเสือร้ายที่มีชื่อเสียงในเขต เมืองสุพรรณบุรี และใกล้เคียง หรือที่เรียกกันให้เข้าใจว่า "เสือสุพรรณ" มีอยู่จํานวนมาก นับแต่เสือสม เสือศักดิ์ เสือแพร...
อ.สองพี่น้องที่สุพรรณ ใครคือ “พี่น้อง”-ค้นบ้านเกิดพุ่มพวง ดวงจันทร์ พื้นที่ร.6เค...
พุ่มพวง ดวงจันทร์ หรือรำพึง จิตรหาญ "ราชินีเพลงลูกทุ่ง" เกิดที่บ้านดอนตำลึง ตำบลบ่อสุพรรณ อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อ 4 สิงหาคม 2504 (เสีย...
“พันปีไม่เคยแห้ง” น้ำศักดิ์สิทธิ์ ของพญานาค จากสระทั้งสี่ ที่เมืองสุพรรณบุรี...
น้ำศักดิ์สิทธิ์ ของพญานาค
น้ำซับผุดจากใต้ดิน คนแต่ก่อนเชื่อว่าเป็นน้ำของพญานาคเมืองบาดาล ถือเป็น น้ำศักดิ์สิทธิ์ กว่าน้ำอื่นๆ
สระทั้งสี่ของเมืองสุ...
“เลือดสุพรรณ” ทำไมเป็นสัญลักษณ์ปลุกใจเรื่องความร่วมมือสามัคคี
“เลือดสุพรรณ” เป็นคำพูดเรียกความร่วมมือสามัคคีที่ใช้กันบ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็น เลือดสุพรรณไปไหนไปกัน, เลือดสุพรรณไม่ทิ้งกัน, และอีกหลากหลายเลือดสุพรรณ....
“สำเนียงหลวงอยุธยา” มาจาก “สำเนียงเหน่อสุพรรณบุรี” รากเหง้าสำเนียงโคราช?...
รัฐสุพรรณภูมิ (สุพรรณบุรี) ใช้ภาษาไทย (สำเนียงเหน่อ ลาวลุ่มน้ำโขง) ในตระกูลไต-ไท เป็นภาษากลางทางการค้าทางบกกับทางดินแดนภายใน สถาปนาภาษาไทยและความเป็นไ...
การค้นพบหลักฐาน “เจดีย์ยุทธหัตถี” ที่ใช้ยืนยันตำนานพระนเรศวรชนช้างเป็นเรื่อง “จร...
เจดีย์ยุทธหัตถี เชื่อกันว่าสร้างขึ้นเป็นอนุสรณ์ถึงยุทธหัตถีระหว่างสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุปราชมังกะยอชวา (หรือมังสามเกียดที่เรารู้จักกันในประว...
ทำไม สุพรรณบุรี ในอดีตขึ้นชื่อว่าเป็น “เมืองโจร เมืองคนดุ” !?
เหตุใดเมือง "สุพรรณบุรี" ในอดีต ขึ้นชื่อว่าเป็น "เมืองโจร" หรือ "เมืองคนดุ" ?
เมื่อ 70-80 ปีมาแล้ว เมืองสุพรรณมีชื่อเสียงลือกระฉ่อนไปในทางลบ เป็นเมือ...
วิวาทะเจดีย์ยุทธหัตถี สถานที่รำลึกวีรกรรม “พระนเรศวร” อยู่ที่ไหนกันแน่ ?!?
เมื่อปี 2456 สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงชี้ว่า พื้นที่ยุทธหัตถี วีรกรรมอันเลื่องลือของ “พระนเรศวร” หรือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช อยู่ที่จังหวัดสุพร...
21-24 ธันวาคม 2565 : 130 ปี เลิกคติ “ห้ามเจ้านายมิให้เสด็จไปเมืองสุพรรณ”...
ปัจจุบันข้อมูลเรื่องช่วงเวลาที่แน่นอนของการเสด็จเมืองสุพรรณบุรีครั้งแรกของกรมหมื่นดำรงราชานุภาพ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของการเสด็จตรวจราชการหัวเมืองฝ่ายเหนื...
สำเนียง “เหน่อ” ของสุพรรณ ที่เรียกว่า “เหน่อสุพรรณ” มาจากไหน?...
เหน่อ หมายถึง เสียงพูดเพี้ยนไปจากสำเนียงที่ถูกถือว่าเป็นมาตรฐาน เช่น เสียงเหน่อ, พูดเหน่อ ลาวเรียก เหน้อ เช่น เสียงเหน้อ พูดเหน้อ
เหน่อสุพรรณ หมา...
กรมพระยาดำรงฯ ไม่ทรงเชื่อคติโบราณ “เจ้านายห้ามเสด็จไปเมืองสุพรรณ”
"---ฉันก็นึกอยากไปอยู่แล้ว แต่ว่าไม่เป็นบ้านะ---"
เป็นพระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ตอบคำกราบบังคมทูลเชิญเสด็จป...