เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก วรรณกรรม

แท็ก: วรรณกรรม

สุนทอนพู่ สุนทรภู่

สุนทรภู่ดังไปถึงเพื่อนบ้าน แบบเรียนลาวมีเรื่องของ “สุนทอนพู่”

"สุนทรภู่" ดังไปถึงเพื่อนบ้าน แบบเรียนลาวมีเรื่องของ "สุนทอนพู่" ในสถานการณ์เศรษฐกิจของไทยในปัจจุบัน อาจจะพบว่าเรามีสินค้าส่งออกโดยเฉพาะงานศิลปะจำน...
ตั๋งโต๊ะ เตียวเสี้ยน สามก๊ก

“ตั๋งโต๊ะ” ในครานักการเมืองใหญ่ ฤๅ(จะ)ถึงคราวฉิบหายเพราะเรื่องผู้หญิง?...

...จะเห็นได้ว่าทั้งฝ่ายเล่าปี่ โจโฉ และซุนกวน ต่างมีที่ปรึกษาระดับเซียนเหยียบเมฆทั้งสิ้น และผู้เป็นใหญ่ก็นับถือที่ปรึกษาของพวกเขา ยกเว้นกรณีที่เป็นเรื...
โตเกียว ญี่ปุ่น ยุคเมจิ โคะโคะโระ

“โคะโคะโระ” วรรณกรรมสุดคลาสสิก ยุคญี่ปุ่นเปลี่ยนผ่านสู่สมัยใหม่

“โคะโคะโระ” (心) ในภาษาญี่ปุ่นแปลว่า “จิตใจ” หรือ “หัวใจ” ในเชิงความรู้สึก แตกต่างกับ “ชินโซ” (心臓) ซึ่งแปลว่า “หัวใจ” ในเชิงกายภาพ  นิยามคำว่าจิตใจส...
ลายเส้น แม่นาก

เผยฉาก “แม่นากพระโขนง” ครอสโอเวอร์ โผล่ใน “ขุนช้างขุนแผน” ฉบับครูแจ้ง...

เรื่อง แม่นาก พระโขนงเป็นที่รู้จักในหมู่คนไทยแม้ในปัจจุบันอย่างกว้างขวาง ย้อนหลังกลับไปประมาณ 10 ปี วงการบันเทิงของไทยก็มีกิจกรรมเกี่ยวกับแม่นากในหลา...
หุ่นขี้ผึ้ง ตัวละคร พระอภัยมณี

ข้างหลัง “พระอภัยมณี” สุนทรภู่ ซ่อนความคิดต้านชาติตะวันตก

ในบรรดาผลงานของสุนทรภู่ (พ.ศ. 2329-2398) “พระอภัยมณี” น่าจะเป็นผลงานที่มีชื่อเสียงมากที่สุด มีการกล่าวถึงมากที่สุด และเป็นที่รู้จักมากที่สุด ฯลฯ เพราะ...

“ภาษาเปอร์เซีย” เหตุใดจึงมาปรากฏในศิลาจารึก “พ่อขุนราม” ?

“เบื้องตีนนอนเมืองสุโขทัยนี้ มีตลาดปสาน...” เป็นประโยคหนึ่งบนศิลาจารึกของพ่อขุนรามคำแหง ปรากฏอยู่บนบรรทัดแรกของด้านที่ 3 ซึ่งมีผู้อธิบายว่า คำว่า “ปสา...
พระสงฆ์ ใน จิตรกรรมฝาผนัง วัดปทุมวนาราม

“พระมะเหลเถไถ” ไม่เหลวไหลอย่างที่คิด รู้จักงานกวีเชิงเสียดสี

"พระมะเหลเถไถ" ไม่เหลวไหลอย่างที่คิด รู้จักงานกวีเชิงเสียดสี ๏ เมื่อนั้น   พระมะเหลเถไถมะไหลถา สถิตยังแท่นทองกะโปลา   ศุขาปาลากะเปเล วันหนึ่งพระจ...
ภาพวาด พระลักษณวงศ์ และ พราหมณ์เกสร หรือ นางทิพเกรส จาก วรรณคดี ลักษณวงศ์

ฉาก Y ชาย-ชาย ใน “ลักษณวงศ์” มเหสีถึงกับหึงหวง สู่จุดจบสุดดาร์กในวรรณคดีของสุนทร...

"ลักษณวงศ์" เป็นนิทานคำกลอน ผลงานกวีนิพนธ์ของสุนทรภู่ สันนิษฐานว่า ประพันธ์ในสมัยรัชกาลที่ 3 ลักษณวงศ์ เป็นเรื่องราวของ "พระลักษณวงศ์" สามารถแบ่งได...
เอกรัตน์ จิตรมั่นเพียร หรือ นายทิวา

“นายทิวา” รับรางวัล “แสงสรรค์วรรณศิลป์” ครั้งที่ 1 จาก “สถาบันไทยปัญญ์สุข”

“ชมัยภร แสงกระจ่าง” ศิลปินแห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ ประกาศผลและมอบรางวัล “แสงสรรค์วรรณศิลป์” ครั้งที่ 1 ให้ “เอกรัตน์ จิตรมั่นเพียร” หรือ “นายทิวา” ในงาน...
โจผี ลูกชาย โจโฉ

“กาเซี่ยง” ชี้ทาง “โจโฉ” ตั้งทายาทคนโตสืบทอด เลี่ยงวุยก๊กล่มสลาย...

ในบั้นปลายชีวิตของ โจโฉ เขาต้องเผชิญกับปัญหาสำคัญที่จะส่งผลถึงอนาคตของวุยก๊ก คือการแต่งตั้งผู้สืบทอดอำนาจต่อจากเขา ซึ่งในบรรดาบุตรทั้งหมดของโจโฉ คนที่...
หน้าปก หนังสือ เอ๋งติ๋งห้าว

เอ๋งติ๋งห้าว : สุดยอดของความหรรษา ลูกศิษย์ยกเค้าพระอาจารย์-เมียตดใส่หัวผัว

ในบรรดาวรรณกรรมล้อเลียนหรือขำขัน หลายคนคงนึกไปถึงระเด่นลันได อุณรุทร้อยเรื่อง พระมะเหลเถไถ ซึ่งเป็นเรื่องที่แพร่หลายรู้จักกันไปทั่ว แต่ถ้าเอ่ยถึง “เอ๋...
ลายรดน้ำ ลิงแฉ็งไขแขก ตู้พระไตรปิฎก

นัยของเพลง “ลิงถอกกระดอเสือ” และ “ลิงโลน” ในงานของสุนทรภู่ ลิงพวกนี้ทำอะไร?...

สืบนัยของเพลง "ลิงถอกกระดอเสือ" และ "ลิงโลน" ในงานของสุนทรภู่ ลิงพวกนี้ทำอะไร? เมื่อสุนทรภู่เดินทางไปเมืองเพชรคราวแต่งนิราศ (พ.ศ. 2374) เมื่อผ่านปา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น