เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก รัชกาลที่ 3

แท็ก: รัชกาลที่ 3

รูปปั้น หม่อมไกรสร กรมหลวงรักษรณเรศ วัดปิตุลาธิราชรังสฤษฎิ์

คดีและความเดือดร้อนในหมู่เจ้านายจาก “หม่อมไกรสร”? รัชกาลที่ 4 ทรงเรียก “ชาติเวรข...

คดีและความเดือดร้อนในหมู่เจ้านายจาก "หม่อมไกรสร" ? รัชกาลที่ 4 ทรงเรียก "ชาติเวรของพระองค์" และยังทรงถวายพระนามพระพุทธรูปองค์หนึ่งว่า พระไพรีพินาศ อัน...
เงินบาท เหรียญเงิน กรุงเทพฯ ตอกตรา พระมหามงกุฎราคาเฟื้อง พ.ศ. 2399 เปรียบเทียบ ตัวอย่าง เหรียญทองแดง เมืองไท ตราดอกบัว และ ตราช้าง จ.ศ. 1197

ย้อนดูมูลค่าของ “เงินบาท” สมัยรัชกาลที่ 3 มีราคาเท่าใด พ่อค้าต่างชาติเชื่อถือหรื...

เงินพดด้วง มีน้ำหนัก 1 บาท เรียกกันในหมู่พ่อค้าต่างชาติว่า tical ในสมัย รัชกาลที่ 3 นี้ เงินบาท ได้รับความเชื่อถือในหมู่พ่อค้าต่างชาติมาก ไม่เพียงแต่...
พระบรมราชอนุสาวรีย์ เจ้าอนุวงศ์ เวียงจันทน์ ประเทศลาว

ความปราชัยของ “เจ้าอนุวงศ์” วิเคราะห์เหตุความพ่ายแพ้ของมหาราชชาติลาว...

“ศึกเจ้าอนุวงศ์”  ระหว่าง พ.ศ. 2369-2371 เกิดเหตุการณ์ต่าง ๆ ขึ้นมากมาย ภายหลังกองทัพฝ่ายเวียงจันทน์-จำปาศักดิ์ มากวาดต้อนประชากรจากหัวเมืองภาคอีสาน แ...
อนุสาวรีย์ เจ้าอนุวงศ์ นครเวียงจันทน์ ศึกเจ้าอนุวงศ์

“ศึกเจ้าอนุวงศ์” สงครามปลดแอกชาติลาว

ศึกเจ้าอนุวงศ์ หรือ สงครามเจ้าอนุวงศ์ เกิดขึ้นใน พ.ศ. 2369-2371 ต้นรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 (2367-2394) เป็นประวัติศาสต...
ละครบุษบาลุยไฟ บุษบาลุยไฟ

ละครบุษบาลุยไฟ กับการต่อยอดเพื่อการท่องเที่ยวและสร้างทัศนคติในความเป็นคน

“ก็เจ๊กศิษย์จะยกสีมาให้เจ๊กครู มิได้รึ”: ชนชั้นในสังคมไทย ซึ่งวันนี้ก็ยังมีอยู่ คำพูดข้างต้นนี้ มาจาก ละครบุษบาลุยไฟ ของสถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส คาดว่า...
สุนทรภู่ ผู้แต่ง รำพันพิลาป กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ

เมื่อสุนทรภู่แต่งรำพันพิลาป “เกี้ยว” กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ พระราชธิดาในรัชกาลที่ ...

ใครจะเชื่อสักกี่คนว่า สุนทรภู่ อาจเอื้อมถึงกับแต่ง รำพันพิลาป ซึ่งเป็น "เพลงยาว" เพื่อเกี้ยว กรมหมื่นอัปสรสุดาเทพ พระราชธิดาของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้...
วัดบวรนิเวศ พระเทพโมลี (สิน) เจ้าอาวาสองค์แรก

พระเทพโมลี (สิน) เจ้าอาวาส “วัดบวรนิเวศวิหาร” เมื่อแรกสถาปนา

พระเทพโมลี (สิน) เจ้าอาวาส “วัดบวรนิเวศวิหาร” เมื่อแรกสถาปนา สมเด็จพระบวรราชเจ้า มหาศักดิพลเสพ กรมพระราชวังบวรสถานมงคล ในรัชกาลที่ 3 โปรดเกล้าฯ ให้...
รัชกาลที่ 2 ฉากหลัง คือ จิตรกรรม พระที่นั่งสุทไธสวรรยปราสาท

กรณีสวรรคต ของรัชกาลที่ 2 ที่เล่าลือกันว่า “ฆาตกรรม”

รัชกาลที่ 2 สวรรคต เป็นเหตุการณ์ที่มีเสียงเล่าลือหลายอย่างถึง “เงื่อนงำ” บางประการ เรื่องนี้นั้น ปรามินทร์ เครือทอง เคยค้นคว้าและเรียบเรียงเป็นบทความช...
ลงเรือแป๊ะ

“ลงเรือแป๊ะ ต้องตามใจแป๊ะ” สำนวนไทยที่แฝงนัยทางการเมือง?

“วันนี้ทุกคนลงเรือลำเดียวกันแล้ว เหมือนคำโบราณที่ว่า ลงเรือแป๊ะ ต้องตามใจแป๊ะ ไม่เช่นนั้นจะถูกไล่ลงจากเรือ ดังนั้นก็ต้องตามใจแป๊ะ”  เจ้าของประโยคข้...
ตีกลองร้องฎีกา ประชาชน ตี กลองวินิจฉัยเภรี

สมัยรัชกาลที่ 3 ตั้งกลองวินิจฉัยเภรี ให้ประชาชนใช้ร้องทุกข์ถวายฎีกา  

ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 มีพระราชดำริให้ประชาชนที่ได้รับความเดือดร้อน สามารถร้องเรียนได้รวดเร็วยิ่งขึ้น จากเดิมที่ประชา...
ภายถ่าย วัดกัลยาณมิตร พ.ศ. 2468

ปฐมเจ้าอาวาสวัดกัลยาณมิตร และนัยที่สะท้อนว่า ร.3 ทรงรัก “เจ้าสัวโต” สหายของพระอง...

ปฐมเจ้าอาวาส วัดกัลยาณมิตร พระพรหมมุนี เป็นราชทินนามเก่ามีมาแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา แต่เดิมเป็นตำแหน่งสมณศักดิ์พระราชาคณะผู้ใหญ่เสมอชั้นธรรม ด้วยปรากฏว่...
ภาพเก่า คลองตัน คลองแสนแสบ มี เรือพาย และ เรือนแพ

คลองแสนแสบ โลเคชั่นใน “แผลเก่า” คือเส้นทางทัพสำคัญในสงครามไทย-ญวน..ทำไมชื่อ “แสน...

เมื่อหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)  นำภาพยนตร์เรื่อง “แผนเก่า” ผลงานกำกับของเชิด ทรงศรี เมื่อ พ.ศ. 2520 มาบูรณะใหม่ โดยเพิ่งเปิดตัวในเทศกาลภาพยนตร์นานาชาต...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น