แท็ก: พระสงฆ์
“ครูบาคติใหม่” การอ้างอิงจากบารมีและศรัทธาของ “ครูบาศรีวิชัย”
คติความเชื่อหนึ่งในวัฒนธรรมด้านศาสนาท้องถิ่นล้านนา คือ ภาพของโพธิสัตว์ถูกแทนที่ด้วยลักษณะของพระสงฆ์ที่ปฏิบัติตามฐานคติความเชื่อทางวัฒนธรรมอย่างเคร่งคร...
พระเณรวัดเส้าหลิน พระจีนที่ช่วยบ้านเมือง-ประชาชนยามเกิดจลาจล
วัดเส้าหลิน (บ้างเรียก วัดเสียวลิ้มยี่) หรือที่ในยุทธภพเรียกว่า สำนักเส้าหลิน มีส่วนร่วมกับสังคมเสมอๆ ในยามบ้านเมืองเกิดจลาจล หรือขับไล่ชนต่างเผ่าที่เ...
ครูบาศรีวิชัย : “เจ้าตนบุญแห่งล้านนา” กับความขัดแย้งในคณะสงฆ์
“ตนบุญ” หรือ “นักบุญ” มีความหมายเชิงยกย่องว่าเป็นนักบวชที่มีคุณสมบัติพิเศษ ในดินแดนล้านนา หากพูดถึงพระภิกษุสงฆ์ที่ถูกกล่าวขานและได้รับศรัทธาจากพุทธศาส...
“ลูกสวาด–ลูกสวาดสียาตรา” วัตถุอาถรรพ์มหาเสน่ห์ และเรื่องรัก-เรื่องลับหลังชายผ้าเ...
"ลูกสวาด" หรือ "ลูกสวาดสียาตรา" วัตถุอาถรรพ์มหาเสน่ห์ และเรื่องรัก-เรื่องลับหลังชายผ้าเหลือง
สวาดต้นคนต้องแล้วร้องอุ๊ย ด้วยรุกรุยรกเรื้อรังเสือสาง
...
ไปรษณีย์บาตร? วิธีส่งข่าวระหว่างสงฆ์-สงฆ์ เพื่อการชุมนุมงานใต้ดิน
“ไปรษณีย์บาตร” คือวิธีส่งข่าวสารระหว่าง พระสงฆ์ กับ พระสงฆ์ เพื่อให้คณะสงฆ์มาชุมนุมกันตามนัดหมาย เพื่อประชุม จัดตั้ง “คณะปฏิสังขรณ์การพระศาสนา” เมื่อป...
กฎพระสงฆ์ รัชกาลที่ 1 ตำหนิพระไม่ทำตามพระวินัย ฆราวาศขาดปัญญา
ภายหลังสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ทรงดำเนินการปฏิรูปฟื้นฟูพุทธศาสนา ด้านต่างๆ ในส่วนการปกครองและควบคุมคณะสงฆ์ ทรงปร...
รัชกาลที่ 4 ทรงประกาศห้ามคนอายุ 24-70 บวช เหตุ “คนพาล” หลีกหลบเข้าบวชเป็นพระ...
ในสมัยรัชกาลที่ 4 แวดวง "พระสงฆ์" ได้รับการดูแลกวดขันอย่างเข้มงวดเป็นพิเศษ เนื่องด้วยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ทรงผนวช (บวช) มานา...
เมื่อรัชกาลที่ 4 ทรงออกประกาศ ห้ามพระสงฆ์ไม่ให้ใบ้-แทง “หวย” แลประพฤติอนาจาร...
เมื่อ พ.ศ. 2403 รัชกาลที่ 4 ทรงออกประกาศเรื่อง "ประกาศห้ามพระสงฆ์ไม่ให้บอกบ้ายแทงหวยแลประพฤติอนาจาร" (ประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 ภาค 5) เพื่อควบคุมพระสงฆ...
40 ท่วงท่าลีลาสตรีเกี้ยวบุรุษ เมื่อหญิงแพศยาเย้ายวนพระสงฆ์สมัยพุทธกาล
ท่วงท่าลีลาสตรีเกี้ยวบุรุษ 40 ท่า มีที่มาจากคัมภีร์อรรถกถาชาดก เรื่องพระสุนทรสมุทรเถระ ซึ่งมารดาของพระสงฆ์รูปดังกล่าวต้องการให้สึกจากพระพุทธศาสนา จึงค...
ที่มา นิตยภัต-เงินถวายพระสงฆ์สามเณรที่เปลี่ยนไปตามยุคสมัย
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์คำว่านิตยภัต (นิตะยะภัต) ว่า “อาหารหรือค่าอาหารที่ถวายแก่ภิกษุสามเณรเป็นประจำ” ส่วนในคู่มือการปฏิบัติงานนิตยภัต อธิบ...
แม้ฆราวาสมีศีลน้อยกว่าพระ แต่สามารถเข้าถึงธรรมได้ไม่น้อยกว่าพระ
พระไพศาล วิศาโล อธิบายเกี่ยวกับการแยก "ทางโลก" กับ "ทางธรรม" ออกจากกันอย่างชัดเจน ในปัจจุบัน ซึ่งส่งผลให้บทบาทของฆราวาสกับพระสงฆ์พลอยแยกออกจากกันอย่าง...
ย้อนดูการศึกษาจากมีวัดเป็นโรงเรียน มีพระเป็นครู
เมื่อ พ.ศ. 2441 รัชกาลที่ 5 มีพระราชดำริปฏิรูปการศึกษา ได้ทรงจัดการการศึกษาขั้นต้นให้กับประชาชนทั่วไป และทรงตัดสินพระทัยให้อยู่ในความรับผิดชอบของสมเด็...