แท็ก: พระสงฆ์
“พระมหาเถรคันฉ่อง” พระสงฆ์มอญ ได้รับสถาปนาเป็น “สมเด็จพระสังฆราช” จริงหรือ?...
"พระมหาเถรคันฉ่อง" พระสงฆ์มอญผู้มีบทบาทสำคัญในการให้ความช่วยเหลือสมเด็จพระนเรศวร แห่งกรุงศรีอยุธยา บทบาทหนึ่งที่ทราบกันดี และปรากฏให้เห็นในภาพยนตร์ "ต...
ย้อนอดีตการตีระฆังของพระสงฆ์ และมูลเหตุการทำระฆังเล็กถวายวัด มีที่มาจากไหน?
ระฆังเป็นเครื่องตีที่หล่อด้วยโลหะเป็นรูปคล้ายลูกฟักตัด ตอนบนหล่อเป็นหูเพื่อเกี่ยวกับตะขอหรือโซ่สำหรับสอดคานแขวน ในสมัยพุทธกาล ระฆังสร้างขึ้นครั้งแรกเม...
ตำนาน “สมเด็จพระสังฆราช สา” ลาสิกขา แต่ร.4 ทรงตามมาบวชใหม่ แล้วได้เป็นสังฆราช...
สมเด็จพระสังฆราช (สา ปุสฺสเทโว) เป็นพระสังฆราชซึ่งมีพระชาติกำเนิดมาจากสามัญชน แต่ด้วยความรู้ความสามารถทำให้ทรงเป็นที่ยอมรับจากพระมหากษัตริย์ถึง 2 รัชก...
วัดราชประดิษฐ วัดที่รัชกาลที่ 4 ทรงสร้างเพื่อเป็น “ที่มั่น” ของคณะสงฆ์ธรรมยุติ
ในบรรดาพระมหากษัตริย์ของไทย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงผนวชยาวนานที่สุดคือ 27 พรรษา (พ.ศ. 2367-94) และใน พ.ศ. 2373 ทรงสถาปนาคณะสงฆ์ธรรมยุตข...
“ห้ามสวมเกือก” ขบวนการต่อต้านอังกฤษ การรวมพลังของพระสงฆ์กับนักศึกษาพม่า
ปี 2428 เมื่ออังกฤษยึดพม่าได้หมดทั้งประเทศ ในสมัยพระเจ้าธีบอแห่งกรุงมัณฑะเลย์ อังกฤษได้ย้ายเมืองหลวงมายังกรุงย่างกุ้ง และยังได้ผนวกพม่าเข้าไว้ในการปกค...
กบฏสมณทูตไทย : กรมหมื่นเทพพิพิธ พระสงฆ์อยุธยาร่วมมือชาวสิงหล โค่นล้มกษัตริย์ลังก...
ภาพแห่งความสำเร็จกอปรด้วยเสียงแซ่ซ้องสรรเสริญของชาวลังกาทุกหมู่เหล่า ที่เชื่อว่าการประดิษฐานพระพุทธศาสนาบนผืนเกาะลังกาสำเร็จเสร็จสิ้นเรียบร้อยดีงาม อี...
อาบัติ “ปาราชิก” ย้อนดูเหตุการณ์ปาราชิกสมัยรัชกาลที่ 4
ปาราชิก แปลว่า ยังผู้ต้องให้พ่าย , ผู้พ่ายแพ้ เป็นอาบัติของภิกษุที่มีโทษร้ายแรงที่สุดในพุทธบัญญัติ
ปาราชิกมี 4 ประการ คือ เมถุนปาราชิก-เสพเมถุน, อท...
สมัยแรก พระป่า-พระธรรมยุต ก่อนพระอาจารย์มั่น ภูริทัตโต เป็นอย่างไร
เมื่อกล่าวถึง “พระป่า” ภาพที่นึกถึงก็เป็น พระที่ออกไปธุดงค์ แสวงหาสถานที่สงบๆ เพื่อบำเพ็ญสมาธิภาวนา โดยพระป่าที่ได้รับการยกย่องในสายพระป่าที่ได้รับการ...
จับพระสงฆ์ลาว สึก-บวชใหม่ เพียงเพราะออกเสียง สรณํ เป็น สะ ละ ณัง !?
เรื่องนี้เป็นพระราชปุจฉาและวิสัชนา ซึ่งรัชกาลที่ 1 ทรงมีถวายไปถึงสมเด็จพระสังฆราชและพระราชาคณะ โดยพระองค์ทรงมีเหตุสงสัยว่า ทำไมจึงให้พระลาวสึกแล้วบวชใ...
บันทึกของอ็องรี มูโอต์ เกี่ยวกับพระสงฆ์ในสังคมของประเทศไทย
อ็องรี มูโอต์ (ค.ศ. 1826-1861) นักโบราณคดี นักสำรวจ นักธรรมชาติชาวฝรั่งเศส ที่ออกเดินทางสำรวจราชอาณาจักรสยาม, กัมพูชา และลาว ถึง 4 ครั้ง ระหว่างตุลาคม...
นิทาน “นายจิตร นายใจ” วรรณกรรมเสียดสี 3 พระสงฆ์ชั้นผู้ใหญ่ สมัยรัชกาลที่ 5...
วรรณกรรมเสียดสีสังคมมีมาทุกยุคทุกสมัย ในบางเรื่องผู้ประพันธ์จะใช้วิธีกล่าวเสียดสีบุคคลโดยตรง ไม่มีการอ้อมค้อมหรือใช้ตัวละครสมมุติ นั่นคือนิทานเรื่อง น...
สาวสมัยพุทธกาลเข้าใจผิด คิดว่าช่วยคลายกำหนัดให้พระแล้วจะได้บุญ
ใน พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ ปาราชิกสิกขาบทที่ 1 วินีตวัตถุ เขียนไว้ว่า (เน้นคำใหม่โดยกองบรรณาธิการ)
“…สมัยนั้น ในกรุงราชคฤห์ มีอุบาสิกาคนหนึ่งชื่อส...