เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 9 ตุลาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก พระพุทธศาสนา

แท็ก: พระพุทธศาสนา

แผนที่ระยะทางจากอุษาคเนย์ไปลังกาทวีป ดินแดนพุทธศาสนา ลังกาวงศ์

พุทธศาสนา “ลังกาวงศ์” จากเกาะลังกา เข้ามาเจริญในอุษาคเนย์เพราะอะไร?

ข้อสังเกตประการหนึ่งเกี่ยวกับการเข้ามาของพุทธศาสนานิกายเถรวาท “ลังกาวงศ์” ในไทยและอุษาคเนย์ภาคพื้นทวีปคือ ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 17-19 อาณาจักรเกิดใหม่ขอ...
รศ. ดร. รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง

ไม่ควรพลาด! “SILPA PODCAST ‘ภูพระบาท’ มรดกโลกแห่งภูพาน” EP.4 ‘วัฒนธรรมหลักหิน’ ถ...

SILPA PODCAST “ภูพระบาท” มรดกโลกแห่งภูพาน ซีรีส์พอดแคสต์ใหม่ล่าสุดของศิลปวัฒนธรรม ที่จะพาทุกคนไปศึกษาทำความเข้าใจทุกเรื่องราวเกี่ยวกับมรดกโลกทางวัฒนธร...
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชานุกิจ รัชกาลที่ 3 ประกอบ วัดที่รัชกาลที่ 3 ทรงมีส่วนร่วมในการสถาปนา มีที่ใดบ้าง?

วัดที่รัชกาลที่ 3 ทรงมีส่วนร่วมในการสถาปนา มีที่ใดบ้าง?

การสถาปนาหรือส่งเสริมพระพุทธศาสนาเป็นเรื่องที่กษัตริย์ของไทยต้องปฏิบัติเป็นธรรมเนียม ในแต่ละยุคสมัยจะปรากฏวัดที่พระองค์ร่วมสถาปนาหรือแม้แต่วัดประจำพระ...
เผยแผ่กับเผยแพร่ เผยแผ่ เผยแพร่

ทำไมใช้ “เผยแผ่” เมื่อเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับศาสนา ไม่ใช้ “เผยแพร่” ?

เรามีหลักการใช้ภาษาอยู่ข้อหนึ่งที่ปฏิบัติต่อ ๆ กันมาตามที่ครูบาอาจารย์และผู้รู้ทางภาษาท่านแนะนำไว้ นั่นคือการใช้คำว่า “เผยแผ่” เมื่อเกี่ยวข้องกับศาสนา...
จิตรกรรม ฉากเกี้ยวพาราสี เบญจกัลยาณี

“เบญจกัลยาณี” ความงามพร้อม 5 ประการของสตรีในคัมภีร์พุทธศาสนา

“เบญจกัลยาณี” คือสตรีผู้มีศุภลักษณ์ หรือลักษณะอันงามพร้อม 5 ประการ มาจากคำว่า “เบญจ” หรือ ปญฺจ ในภาษาบาลี แปลว่า ห้า กับ “กัลยาณี” แปลว่า หญิงงาม หาก...
พระสงฆ์ ตาลปัตร พระสงฆ์โกนคิ้วตั้งแต่เมื่อไหร่

“พระสงฆ์” ไทย กับคิ้วที่หายไป พระสงฆ์ (ไทย) เริ่มโกนคิ้วตั้งแต่เมื่อไหร่?...

"พระสงฆ์" ไทย กับคิ้วที่หายไป พระสงฆ์ (ไทย) เริ่มโกนคิ้วตั้งแต่เมื่อไหร่? เคยมีกระแสเรื่อง "เอาคิ้วเราคืนมา" ในหมู่ "พระสงฆ์" ไทยบางส่วน ทำให้เกิดการ...
รศ. ดร. รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล SILPA PODCAST ภูพระบาท มรดกโลกแห่งภูพาน EP.2 ‘ประวัติศาสตร์โบราณคดี’ บนภูพระบาท

พลาดไม่ได้! “SILPA PODCAST ‘ภูพระบาท’ มรดกโลกแห่งภูพาน EP.2 ‘ประวัติศาสตร์โบราณค...

“SILPA PODCAST ‘ภูพระบาท’ มรดกโลกแห่งภูพาน” ซีรีส์พอดแคสต์ใหม่ล่าสุดของศิลปวัฒนธรรม ที่จะพาทุกคนไปศึกษาทำความเข้าใจทุกเรื่องราวเกี่ยวกับมรดกโลกทางวัฒน...
อุดรกาโรทวีป (อุตรกุรุทวีป) และ บุพพวิเทหทวีป

“อุตรกุรุทวีป” สะอาด ปลอดภัย ไร้หนาม (ไม่ใช่ทุเรียน) ดินแดนอุดมคติในคัมภีร์พุทธ

ใน โลกบัญญัติปกรณ์ คัมภีร์พุทธศาสนาว่าด้วยภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ของโลก เล่าถึงมหาทวีปชื่อ “อุตรกุรุทวีป” ว่า “เสมอ ปลอดภัย สะอาด ไม่มีหนาม” ทั้งหม...
บุพนิมิต 32 พระพุทธเจ้า ประสูติ จิตรกรรมฝาผนัง อุโบสถ วัดไชยทิศ กรุงเทพมหานคร

“บุพนิมิต” เหตุอัศจรรย์คราวเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติ คืออะไร?

บุพนิมิต หมายถึง ลางที่บอกเหตุขึ้นก่อน หรือสิ่งที่เป็นเครื่องหมายบอกเหตุการณ์ล่วงหน้า (บุพ- แปลว่า ก่อน, เบื้องหน้า นิมิต- หมายถึง ลาง, เค้ามูล) รากฐา...
ประสูติ พระพุทธเจ้า เจ้าชายสิทธัตถะ พร้อม สหชาติ ทั้ง 7

“สหชาติ” ทั้ง 7 สิ่งมงคลอันเป็นอัศจรรย์ ที่เกิดพร้อมพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

ในวันประสูติของ เจ้าชายสิทธัตถะ หรือพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ได้บังเกิดเหตุอัศจรรย์อันเป็นมงคล คือ “สหชาติ” ทั้ง 7 ที่มีประสูติกาลพร้อมพระโพธิสัตว์ เรียกง่...
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 หรือ วชิรญาณภิกขุ ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ ประชวร ทรง เป็น ผู้กระทำ ทัฬหีกรรม 2 ครั้ง ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎถูกหักหน้า

เหตุใด “วชิรญาณภิกขุ” ทรงทำ “ทัฬหีกรรม” ถึง 2 ครั้ง?

วชิรญาณภิกขุ หรือ “ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ” ที่ต่อมาคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ถือเป็นผู้ทรงสถาปนาคณะธรรมยุติกนิกาย โดยทรงทำ “ทัฬหี...
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ครั้ง ผนวช เป็น พระวชิรญาณเถระ หรือ ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ ได้ ก่อตั้ง ธรรมยุติกนิกาย

ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ “สอบไล่” ปริยัติธรรม แสดงพระอัจฉริยภาพประจักษ์ต่อพระพักตร์ ร.3...

“ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ” หรือรัชกาลที่ 4 ครั้งยังทรงผนวช กับการแปลพระปริยัติธรรมถวายรัชกาลที่ 3 แสดงพระอัจฉริยภาพท่ามกลางพระราชาคณะชั้นผู้ใหญ่และพระบรมวงศา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น