เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก พระพุทธศาสนา

แท็ก: พระพุทธศาสนา

รศ. ดร. รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง

ไม่ควรพลาด! “SILPA PODCAST ‘ภูพระบาท’ มรดกโลกแห่งภูพาน” EP.4 ‘วัฒนธรรมหลักหิน’ ถ...

SILPA PODCAST “ภูพระบาท” มรดกโลกแห่งภูพาน ซีรีส์พอดแคสต์ใหม่ล่าสุดของศิลปวัฒนธรรม ที่จะพาทุกคนไปศึกษาทำความเข้าใจทุกเรื่องราวเกี่ยวกับมรดกโลกทางวัฒนธร...
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชานุกิจ วัดที่รัชกาลที่ 3 ทรงมีส่วนร่วมในการสถาปนา มีที่ใดบ้าง? กลุ่มอำนาจ ราชสกุลรัชกาลที่ 3 เวลาแห่งการเปลี่ยนผ่าน กลุ่มอำนาจ กลุ่มอำนาจ สมัยรัชกาลที่ 3 รัชกาลที่ 3 พระเจ้ากรุงศรีอยุธยา แผ่นดินไหวสมัยรัชกาลที่ 3

วัดที่รัชกาลที่ 3 ทรงมีส่วนร่วมในการสถาปนา มีที่ใดบ้าง?

การสถาปนาหรือส่งเสริมพระพุทธศาสนาเป็นเรื่องที่กษัตริย์ของไทยต้องปฏิบัติเป็นธรรมเนียม ในแต่ละยุคสมัยจะปรากฏวัดที่พระองค์ร่วมสถาปนาหรือแม้แต่วัดประจำพระ...
เผยแผ่กับเผยแพร่ เผยแผ่ เผยแพร่

ทำไมใช้ “เผยแผ่” เมื่อเป็นเรื่องเกี่ยวข้องกับศาสนา ไม่ใช้ “เผยแพร่” ?

เรามีหลักการใช้ภาษาอยู่ข้อหนึ่งที่ปฏิบัติต่อ ๆ กันมาตามที่ครูบาอาจารย์และผู้รู้ทางภาษาท่านแนะนำไว้ นั่นคือการใช้คำว่า “เผยแผ่” เมื่อเกี่ยวข้องกับศาสนา...
รศ. ดร. รุ่งโรจน์ ภิรมย์อนุกูล SILPA PODCAST ภูพระบาท มรดกโลกแห่งภูพาน EP.2 ‘ประวัติศาสตร์โบราณคดี’ บนภูพระบาท

พลาดไม่ได้! “SILPA PODCAST ‘ภูพระบาท’ มรดกโลกแห่งภูพาน EP.2 ‘ประวัติศาสตร์โบราณค...

“SILPA PODCAST ‘ภูพระบาท’ มรดกโลกแห่งภูพาน” ซีรีส์พอดแคสต์ใหม่ล่าสุดของศิลปวัฒนธรรม ที่จะพาทุกคนไปศึกษาทำความเข้าใจทุกเรื่องราวเกี่ยวกับมรดกโลกทางวัฒน...
อุดรกาโรทวีป (อุตรกุรุทวีป) และ บุพพวิเทหทวีป

“อุตรกุรุทวีป” สะอาด ปลอดภัย ไร้หนาม ดินแดนอุดมคติในคัมภีร์พุทธ

ใน โลกบัญญัติปกรณ์ คัมภีร์พุทธศาสนาว่าด้วยภูมิศาสตร์และประวัติศาสตร์ของโลก เล่าถึงมหาทวีปชื่อ “อุตรกุรุทวีป” ว่า “เสมอ ปลอดภัย สะอาด ไม่มีหนาม” ทั้งหม...
บุพนิมิต 32 พระพุทธเจ้า ประสูติ จิตรกรรมฝาผนัง อุโบสถ วัดไชยทิศ กรุงเทพมหานคร

“บุพนิมิต” เหตุอัศจรรย์คราวเหตุการณ์สำคัญในพุทธประวัติ คืออะไร?

บุพนิมิต หมายถึง ลางที่บอกเหตุขึ้นก่อน หรือสิ่งที่เป็นเครื่องหมายบอกเหตุการณ์ล่วงหน้า (บุพ- แปลว่า ก่อน, เบื้องหน้า นิมิต- หมายถึง ลาง, เค้ามูล) รากฐา...
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 หรือ วชิรญาณภิกขุ ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ ประชวร ทรง เป็น ผู้กระทำ ทัฬหีกรรม 2 ครั้ง ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎถูกหักหน้า

เหตุใด “วชิรญาณภิกขุ” ทรงทำ “ทัฬหีกรรม” ถึง 2 ครั้ง?

วชิรญาณภิกขุ หรือ “ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ” ที่ต่อมาคือพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 4) ถือเป็นผู้ทรงสถาปนาคณะธรรมยุติกนิกาย โดยทรงทำ “ทัฬหี...
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 ครั้ง ผนวช เป็น พระวชิรญาณเถระ หรือ ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ ได้ ก่อตั้ง ธรรมยุติกนิกาย

ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ “สอบไล่” ปริยัติธรรม แสดงพระอัจฉริยภาพประจักษ์ต่อพระพักตร์ ร.3...

“ภิกษุเจ้าฟ้ามงกุฎ” หรือรัชกาลที่ 4 ครั้งยังทรงผนวช กับการแปลพระปริยัติธรรมถวายรัชกาลที่ 3 แสดงพระอัจฉริยภาพท่ามกลางพระราชาคณะชั้นผู้ใหญ่และพระบรมวงศา...
ผู้หญิง สตรี พระมารดา พระพุทธเจ้า พระพุทธศาสนา ศาสนาพุทธ

“พุทธทำนาย” ของแท้ ศาสนาพุทธจะล่มสลายใน “500 ปี” โดยมี “ผู้หญิง” เป็นต้นเหตุสำคั...

"พุทธทำนาย" ของแท้ "พระพุทธศาสนา" จะล่มสลายใน 500 ปี โดยมี "ผู้หญิง" เป็นต้นเหตุสำคัญ "หมอดูเขาว่าคู่กับหมอเดา" สำนวนไทยที่มักถูกใช้เพื่อลดคุณค่าขอ...
มณฑป พระอจนะ วัดศรีชุม สุโขทัย

“พระมหาเถรศรีศรัทธา” คือใคร? ตีแผ่ตัวตนของผู้สร้างจารึกวัดศรีชุม

ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์หรืออ่านจารึกสุโขทัยน่าจะคุ้นชื่อของ พระมหาเถรศรีศรัทธา ในฐานะผู้สร้าง จารึกสุโขทัยหลักที่ 2 หรือ จารึกวัดศรีชุม หลักฐานสำคัญที่อ...
วัชรอาสน์ โพธิบัลลังก์ ผจญมาร อุโบสถ วัดเกาะ เพชรบุรี

“วัชรอาสน์” หรือโพธิบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า สู่ “ศีรษะแผ่นดิน”

“วัชรอาสน์” หรือ โพธิบัลลังก์ สถานที่ตรัสรู้ บรรลุสัมมาสัมโพธิญาณของพระพุทธเจ้า ณ ใต้ต้นพระศรีมหาโพธิ์ ถูกให้ความสำคัญในคัมภีร์และตำนานพุทธศาสนาแทบทุก...
เปตวิสัยภูมิ เปรตโลกยะ โลกันตนรก เปรต สมุดภาพ ไตรภูมิ เปรต 10 ลักษณะ

ความหลากหลายและแฟนตาซีของ “เปรต” ไม่ได้ตีพ่อตีแม่ก็เกิดเป็นเปรตได้!

ความเชื่อเรื่อง “เปรต” ถือเป็นคติความเชื่อที่ถือกันอย่างแพร่หลายในไทยและประเทศเพื่อนบ้าน ตามหลักพุทธศาสนา การเกิดเป็นเปรตเป็นเพราะบาปกรรมที่เจ้าตัวเคย...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น