แท็ก: ปัตตานี
“กบฏต่างชาติ” ในกรุงศรีอยุธยา แขก-ญี่ปุ่น บุกรุกถึงวังหลวง!
กบฏต่างชาติ ในกรุงศรีอยุธยา มีทั้งแขก ญี่ปุ่น บุกยึดเข้าปล้นถึงใน "วังหลวง" สะท้อนความหละหลวมในราชสำนัก?
ช่วงที่กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรยาวนาน...
แขกเชื้อสาย “นบีมูฮัมหมัด” ร่วมกับโจรสลัดและเมืองปัตตานี บุกเมืองสงขลา !?
เหตุการณ์โจมตีเมืองสงขลาเมื่อ พ.ศ. 2333 ในสมัยรัชกาลที่ 1 โดยกองกำลังจาก ปัตตานี (ปาตานี) มีมูลเหตุจากนักการศาสนากลุ่มหนึ่ง ที่อ้างว่าตนสืบเชื้อสายท่า...
เปิดบันทึก “แฟร์นแบร์เกอร์” ชาวออสเตรียผู้นำทัพปตานี รบชนะอยุธยา
คริสตอฟ คาร์ล แฟร์นแบร์เกอร์ (Christoph Carl Fernberger) ชาวออสเตรียคนแรกที่เดินทางมายัง "อยุธยา" และ "ปตานี" เมื่อ พ.ศ. 2167-2168 ในช่วงที่แฟร์นแบร์เ...
ตำนาน “ปืนใหญ่พญาตานี” ใครเป็นผู้สร้าง?
ตำนานการสร้าง "ปืนใหญ่พญาตานี" มีประวัติความเป็นมาที่คลุมเครือ ไม่มีหลักฐานยืนยันแน่นอนว่าสร้างขึ้นในสมัยใด แต่มีการกล่าวถึงประวัติการสร้างไว้หลายสำนว...
นักรบ “300” ฉบับอยุธยา สำรวจกลุ่มทหารจากปัตตานี ผู้พยายามยึดอำนาจในเมืองหลวง
สำรวจบันทึกเรื่องนักรบ “300” ฉบับอยุธยา เมื่อกลุ่มทหารจาก “ปัตตานี” พยายามยึดอำนาจในเมืองหลวง ช่วงบ้านเมืองกำลังวุ่นวาย
ในแผ่นดินของพระเทียรราชา พระอ...
“ยาวี” เป็นชื่อตัวอักษร ไม่ใช่ชื่อ “ภาษา” อย่างที่ (หลายคน) เข้าใจกัน
ในความรับรู้ของคนไทยทั่วไป (อย่างผู้เขียนเป็นต้น) มักเข้าใจว่า ภาษาที่ชาวมุสลิมในแถบจังหวัดชายแดนภาคใต้ของไทยใช้กันคือ “ภาษายาวี” หรือ “ยาวี” ด้วยเป็น...
เผยโฉมภาพประวัติศาสตร์ “ปัตตานี” เก่าแก่กว่า 400 ปี
เผยโฉมภาพประวัติศาสตร์ "ปัตตานี" เก่าแก่กว่า 400 ปี
ภาพโบราณ "สยามประเทศ" ที่วาดหรือพิมพ์โดยชาวยุโรป ไม่เพียงมีคุณค่าในเชิงศิลปะ แต่สะท้อนให้เห็นถึ...
ผลประโยชน์จากการเก็บภาษี ร.ศ. 110 มูลเหตุให้นาดี กลายเป็นนาร้าง : กรณี “เมืองหนอ...
“ภูมลำเนาของเมืองแขกทั้งเจ็ดซึ่งข้าพระพุทธเจ้าได้ไปเห็นแลได้สืบสวนทราบความในคราวนี้ เห็นเปนเมืองที่บริบูรณ์อย่างปลาดจะหาเมืองมะลายูเมืองใดในแหลมมะลายู...
28 เมษายน 2547: เกิดเหตุปะทะอย่างรุนแรงที่ “กรือเซะ” ผู้ก่อเหตุเสียชีวิตรวม 108 ...
เหตุการณ์มัสยิดกรือเซะ จังหวัดปัตตานี เกิดขึ้นเมื่อช่วงเช้าของวันที่ 28 เมษายน 2547 โดยในครั้งนั้นกลุ่มผู้ก่อเหตุรุนแรงได้ออกปฏิบัติการโจมตีจุดตรวจฐาน...
กรณีเจ้าแขกเจ็ดหัวเมือง การเริ่มต้นความจริงเกี่ยวกับปัตตานี ด้วยประวัติศาสตร์แห่...
สามปีหลังการสถาปนาราชวงศ์จักรีเมื่อ พ.ศ. 2325 ปัตตานีมิได้ส่งเครื่องบรรณาการให้แก่กรุงสยาม พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกจึงทรงส่ง พระยาราชบังสัน (แ...
งานโบราณคดี ในพื้นที่ ๕ จังหวัดชายแดนภาคใต้ อดีต-ปัจจุบัน
จังหวัดปัตตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา และสตูล เป็นจังหวัดชายแดนภาคใต้ของประเทศไทยที่มีอาณาเขตติดต่อกับรัฐทางตอนเหนือของประเทศมาเลเซีย โดยมีทิวเขาสันกาลาค...
“ราตูฮิเจา” ราชินีแห่งปตานีพระองค์แรก รับมือการท้าทายอำนาจจากอำมาตย์อย่างไร...
...สุลต่านมันซูร์ ซาฮ์ สิ้นพระชนม์ในปีพุทธศักราช ๒๑๑๕ ทิ้งพระราชธิดา ๓ พระองค์ไว้กับบรรดาพระประยูรญาติฝ่ายชายและเสนาบดีที่หลั่งเลือดฟาดฟันกันเพื่อแย่ง...