เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 14 ตุลาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ตำนาน

แท็ก: ตำนาน

พระบรมรูป พระมหากษัตริย์ ราชวงศ์จักรี ปราสาทพระเทพบิดร วัดพระแก้ว

ปริศนาเจ้าแม่วัดดุสิต ต้นราชวงศ์จักรี “เจ้า” หรือ “สามัญชน”???...

พระราชวงศ์จักรีเป็นพระราชวงศ์ที่มีอายุยืนยาวที่สุดในประวัติศาสตร์ชาติ ทั้งพระราชพงศาวดารและตำราประวัติศาสตร์ มีให้ศึกษาประวัติโดยละเอียดจำนวนมาก โดยเฉ...

อะลาดิน (Aladdin) เป็นคนจีน? เด็กขี้เกียจ เกาะแม่กิน จนได้ร่วมเตียงเจ้าหญิงที่ไม...

เมื่อมีคนกล่าวถึง "เจ้าหญิงดิสนีย์" หนึ่งในเจ้าหญิงที่ผู้คนจดจำได้มากคนหนึ่งคือ "เจ้าหญิงจัสมิน" จากเรื่อง "Aladdin" เจ้าหญิงสไตล์ "แขก" รูปร่างหน้าตา...

“ราตูฮิเจา” ราชินีแห่งปตานีพระองค์แรก รับมือการท้าทายอำนาจจากอำมาตย์อย่างไร...

...สุลต่านมันซูร์ ซาฮ์ สิ้นพระชนม์ในปีพุทธศักราช ๒๑๑๕ ทิ้งพระราชธิดา ๓ พระองค์ไว้กับบรรดาพระประยูรญาติฝ่ายชายและเสนาบดีที่หลั่งเลือดฟาดฟันกันเพื่อแย่ง...

ผ่าตำนานการแย่งปราสาทระหว่างชาวญัฮกุร กับชาวเขมร สัมพันธ์กับทวารวดีหรือไม่ อย่าง...

การสลายตัวของ “รัฐทวารวดี” เป็นเรื่องที่สร้างความฉงนสงสัยและถือเป็นคำถามใหญ่สำหรับนักวิชาการด้านประวัติศาสตร์และโบราณคดีเสมอมา ต่อประเด็นนี้นั้น มีข้อ...

อะแซหวุ่นกี้ ขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี ฤาสะท้อนอิทธิพลสามก๊กในการเล่าพงศาวดาร?

“เวลาเมื่อพม่ากำลังตั้งค่ายล้อมเมืองนั้น อะแซหวุ่นกี้ยกพลเลียบค่ายไปเที่ยวตรวจชัยภูมิทุก ๆ วันเจ้าพระยาสุรสีห์คุมพลออกโจมตี สู้พม่าไม่ได้ต้องถอยมา เจ้...

พระเจ้าพรหมมหาราช ในตำนานล้านนา นัยสำคัญของกษัตริย์สืบสายทางธรรม VS สายเลือด

เรื่องพระเจ้าพรหมมหาราชมีที่มาจากเรื่องราวที่ปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณของล้านนา ที่มีชื่อเรียกต่างๆ กัน เมื่อต้นปี 2545 กรมศิลปากรได้รับเรื่องในลักษณะตำน...

“สุวรรณภูมิ” ในนิทานนานาชาติ ทำไมสถานที่ในเรื่องมักคือชมพูทวีป-ไม่บอกเวลา...

บทความนี้เรียบเรียงขึ้นใหม่จากบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีที่ 11 ฉบับที่ 2 (2531) เนื่องจากได้พบข้อมูลเพิ่มเติม กา...

ทำไม “ปราสาทแดร็กคิวล่า” ถูกขายทอดตลาด ปราสาทบรานเชื่อมตำนานผีดูดเลือดจริงหรือ?...

ตำนานเรื่องแดร็กคิวล่า ในนิยายอมตะอ้างอิงบางส่วนมาจากข้อมูลของบุคคลที่มีตัวตนจริง เขาคนนั้นคือ วลาด ธีปส์ แดร็กคิวล่า (Vlad Tepes Dracula) ภาพที่นิยาย...

ตำนาน “รัตนสูตร” ปัดเป่าเภทภัยยุคพุทธกาล ถึงการประพรมน้ำพระพุทธมนต์

"รัตนสูตร" คือพระสูตรที่ว่าด้วยรัตนะ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร) ทรงอธิบายคำว่า "ร...

ทำไมราชวงศ์ชิงเปลี่ยนฮีโร่ จากเย่ว์เฟย (งักฮุย) เป็นกวนอู ?

การเซ่นไหว้บุคคลในประวัติศาสตร์ยุคราชวงศ์ชิง การที่กวนอูเข้ามาแทนเย่ว์เฟย (งักฮุย) นั้นเกิดจากสาเหตุทางการเมือง เนื่องจากเย่ว์เฟยเป็นแม่ทัพผู้มีชื่อเส...

ค้นตัวตน “เตียวเสี้ยน” สาวงามลึกลับที่แม้แต่ “กวนอู” ก็ปรารถนา

ในพงศาวดารจีนยุคสามก๊กมีชื่อของผู้หญิงให้เห็นไม่มากนัก เช่นเดียวกับ “เตียวเสี้ยน” ซึ่งแทบไม่ปรากฏร่องรอยในหลักฐานทางประวัติศาสตร์ แต่ที่เธอมีชื่อเสียง...

ปริศนาคนรักของ “แดร็กคิวล่า” ข้อมูลอันเลือนรางเรื่องคู่สมรสของ “วลาดที่ 3 จอมเสี...

วลาดที่ 3 หรือวลาด แดร็กคิวล่า (Vlad Tepes Dracula) ผู้ปกครองอาณาจักรอาณาจักรวัลลาเชีย (ในอดีต โรมาเนียแบ่งออกเป็น 3 รัฐ ได้แก่ วัลลาเชีย, มอลดาเวีย, ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น