แท็ก: ดนตรีไทย
กำเนิดเครื่องเป่าตระกูล “ปี่” เคียงคู่อารยธรรมในอุษาคเนย์
ต้นกำเนิดเครื่องเป่าตระกูล “ปี่” มาจากเครื่องเป่ายุคแรก ๆ ที่มีเสียงเดียว ไม่มี “ลิ้น” และ “รูนิ้ว” สำหรับปรับเปลี่ยนเสียง โดยมีร่องรอยเครื่องเป่าเสีย...
เมกะโปรเจกต์ “ดนตรีไทย” ปี 2473-2485 ระดมบรมครูเพลง บันทึกเพลงไทยเป็นโน้ตสากล
ดนตรีไทย เดิมมีวัฒนธรรมที่ใช้วิธีสืบทอดกันแบบปากต่อปากเป็นสำคัญ ไม่มีการบันทึกโน้ต จวบจนเมื่อครั้งที่สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงดำรงตำแหน่งอุปนา...
วรรณคดีสมัยอยุธยา เผยความเป็นไทยของ “แคน” ก่อนถูกผลักให้เป็นลาว
แคน เครื่องดนตรีประเภทเครื่องเป่า ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรมและสัญลักษณ์แห่งความบันเทิงของชาวลาวและชาวไทยภาคอีสาน “เสียงแคนลาว” ยังขึ้นทะเบียนเป็นมรดกทางว...
รัฐบาลจอมพล ป. ส่งเสริม หรือย่ำยีดนตรีไทย
การศึกษาประวัติศาสตร์ดนตรีไทยที่ผ่านมามักให้ข้อสรุปว่า สาเหตุที่ดนตรีไทยตกต่ำเกิดจากนโยบายการปรับปรุงดนตรีไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ช่วงสงคราม...
12 ม.ค. 2550 สิ้น “ครูเลื่อน สุนทรวาทิน” ศิลปิน 4 แผ่นดินที่ไม่ได้เป็น “ศิลปินแห...
ครูเลื่อน สุนทรวาทิน ศิลปิน 4 แผ่นดินที่มากความสามารถ "ผู้ไม่มีวาสนาเป็นศิลปินแห่งชาติ"
เมื่อเที่ยงวันที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2550 ครูเลื่อน สุนทรวาทิ...
จิตร ภูมิศักดิ์ วิจารณ์ ศาสนา-ราชสำนัก-เจ้าขุนมูลนาย ทำ “เพลงไทยเดิม” ไม่พัฒนา !...
ความเดิมตอนที่แล้ว จิตร ภูมิศักดิ์ ในนามปากกา “มนัส นรากร” เขียนบทความเกี่ยวกับดนตรีไทยชุดหนึ่งเมื่อราวปี 2497 ที่นำเสนอไปแล้ว 2 บทความ คือ บทความ “หล...
จิตร ภูมิศักดิ์ ชี้เพลงไทยเดิมสาบสูญเพราะ “ไม่ยอมพัฒนา” มิใช่คนรุ่นใหม่ไม่สนใจ
จิตร ภูมิศักดิ์ ใช้นามปากกา "มนัส นรากร" เขียนบทความเกี่ยวกับดนตรีไทยชุดหนึ่งเมื่อราวปี 2497 เป็นบทความที่สะท้อนสถาณการณ์ของแวดวงดนตรีไทยในสมัยนั้นที่...
“ครูช้อย” เบโธเฟนเมืองไทย อัจฉริยศิลปินตาบอด ครูดนตรีฝีมือขั้นเทพ
ลุดวิก ฟาน เบโธเฟน (Ludwig Van Beethoven) นักดนตรีชาวเยอรมนี เข้าสู่เส้นทางสายดนตรีตั้งแต่ยังเด็ก โดยมีพ่อเป็นตัวตั้งตัวตี สามารถแสดงเปียโนได้ตั้งแต่อ...
130 กว่าปีก่อน ปี่พาทย์ไทยไปลอนดอน เล่นบนเวทีระดับอินเตอร์
ช่วงปลาย พ.ศ. 2427 ต่อเนื่อง พ.ศ. 2428 ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัฐบาลอังกฤษจัดงานมหกรรมแสดงสินค้าและดนตรีนานาชาติขึ้นที่กรุงลอน...
บางลำพู ชุมชนดนตรีไทยที่ยิ่งใหญ่และเก่าแก่ของกรุงเทพฯ
บางลำพู หรือบ้านบางลำพู ในอดีตชุมชนดนตรีไทยย่านที่ยิ่งใหญ่และเก่าแก่แห่งหนึ่งของกรุงเทพฯ บางลำพูยังเป็นศูนย์กลางของแหล่งบันเทิงที่สำคัญของกรุงเทพฯ ตั้...
เมื่อ “นายคร้าม” คนปั้น “ยักษ์วัดแจ้ง” ไปเล่นซอถวายควีนวิกตอเรีย...
หลายปีมาแล้วที่ประเทศอังกฤษ ผู้เขียนพบหนังสือหายากเล่มหนึ่งจากเมืองไทยปะปนอยู่ในกองหนังสือเก่าประเภทภาษาต่างประเทศภายในร้านหนังสือเก่าแห่งหนึ่งของย่าน...
ดนตรีไทยสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างไร? รู้ได้จากบันทึกชาวต่างชาติ
เอกสารของชาวต่างชาติที่บันทึกเกี่ยวกับประเทศไทยที่มีการเผยแพร่ส่วนใหญ่มักเป็นเรื่องสภาพบ้านเมือง, วิถีชีวิตและจิตใจของประชาชน, สภาพภูมิศาสตร์และทรัพยา...