แท็ก: ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
“ออกขุนชำนาญ” ทูตพระนารายณ์ กับการผจญภัยในแหลมกู๊ดโฮป (หลังเรือแตกปางตาย)
การเดินทางข้ามน้ำข้ามทะเลในสมัยก่อนไม่ใช่เรื่องง่ายๆ หลายครั้งผู้เดินทางต้องชีวิตตั้งแต่ยังไม่ถึงที่หมาย เมื่อต้องเผชิญกับความแปรปรวนของธรรมชาติ รวมถึ...
พาณิชย์สัมพันธ์ สยาม-ริวกิว ร่องรอยไหจากเตาเผาสุโขทัยที่ “ปราสาทชูริ” เกาะโอกินา...
ริวกิว
ค.ศ. 1425 มีพระราชสาส์นจากกษัตริย์ของริวกิวส่งไปยังกษัตริย์ประเทศสยามใจความว่า เรือสินค้าของ ริวกิวที่ไปทําการค้าที่สยามใน ค.ศ. 1419 ถูกเจ้าหน...
พม่าศัตรูประจําชาติ (ในอดีต) อยู่ที่ไหนในกรุงศรีอยุธยา
ความสัมพันธ์ระหว่างอยุธยากับพม่ามิได้มีแต่ด้านการศึกสงครามเพียงอย่างเดียว แต่ยังมีอีกหลายแง่มุมที่น่าสนใจ ดังปรากฏเป็นความสัมพันธ์ด้านการค้าตามหัวเมือ...
สัมพันธ์ไทย-ฝรั่งเศส ไม่ได้มีแต่เรื่อง ร.ศ. 112 ฝรั่งเศสเคยเป็นเพื่อนแท้ที่ไทยวา...
ไทยกับฝรั่งเศสเริ่มมีความสัมพันธ์ระหว่างกันตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ในรัชสมัยของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช มีการส่งราชทูตไปเข้าเฝ้าพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ณ พ...
ราชสำนักจีนเสียหน้า ทูตสยามซื้อลูกหลานชาวนาจีนตกยากไว้รับใช้ รีบสั่งให้ไถ่ตัว
พ.ศ. 2000 ผู้อำนวยการกองจัดการฉางข้าวกรมนา กราบบังคมทูลราชสำนักเกี่ยวกับทูตสยาม ซื้อบุตรหลานของชาวนาที่ยากจนนำกลับไปเป็นข้ารับใช้เป็นเรื่องเสื่อมเสียห...
เสนาบดีสยาม สมัย ร.3 ไม่เชื่อกองทัพอังกฤษชนะพม่าได้ บอกเป็นความคิดเพ้อฝัน!
“วันรุ่งขึ้นคือวันที่ 5 ธันวาคม ในเวลาบ่าย ข้าพเจ้าได้พบกับท่านพระคลัง และได้พูดจากันเป็นเวลานาน พระคลังได้ถามข้าพเจ้าเกี่ยวกับคำแปลภาษาสยามของจดหมายจ...
สภาพสยามเมื่อ 150 ปีก่อน ในบันทึก “ทูตเยอรมัน” คนแรกที่มาไทย
กราฟ ฟรีดิช ซู ออยเลนบวร์ก (Graf Friedrich zu Eulenberg) ราชทูตเยอรมันคนแรกที่มาเยือนสยาม วันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ.1859 /พ.ศ. 2402 เขาได้รับพระบรมราชโองก...
ข้อสงสัยในบทบาทของ “ออกญาเสนาภิมุข” ขุนนางราชสำนักอยุธยาเชื้อสายญี่ปุ่น
ยามาดะ นางามาซะ ชาวญี่ปุ่นที่เข้ามาแสวงโชคในเมืองไทย และได้ดิบได้ดีจนได้เป็น “ออกญาเสนาภิมุข” เจ้ากรมอาสาญี่ปุ่น มีชื่อปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณหลายฉบับ ...
“กูต้องตายเพราะอยากมีเมียแหม่ม” คดีความและวาทะของพระปรีชากลการ ผู้รับโทษประหาร
“กูต้องตายเพราะอยากมีเมียแหม่ม” คำกล่าวข้างต้น ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช อ้างว่าเป็นของ พระปรีชากลการ (สำอาง อมาตยกุล) เจ้าเมืองปราจีนบุรี และผู้ดูแลบ่อทอ...
การศึกษาเรื่องชุดเกราะของนักรบ ในประเทศไทย ช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 24
เกราะ ตามพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ได้ให้ความหมายไว้ว่า “เครื่องสวมใส่หรือเครื่องหุ้มสำหรับป้องกันอาวุธหรืออันตราย” ซึ่งเกราะที่ใช้หุ้มส่...
ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-ญี่ปุ่น ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2
ความต้องการเรียกร้องดินแดนคืนจากมหาอำนาจตะวันตกของไทย เริ่มปรากฏโอกาสของความเป็นไปได้ภายใต้ความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดทางการทหารระหว่างไทยกับญี่ปุ่น เห็นได...
แผ่นดินทองที่ไม่ใช่ของไทย : ที่ดินสถานทูตอังกฤษ
ข่าวใหญ่การพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ในเดือนพฤษภาคมของปี พ.ศ. 2549 เห็นจะได้แก่การตกลงซื้อที่ดินส่วนหนึ่งของสถานทูตอังกฤษโดยกลุ่มธุรกิจกลุ่มหนึ่งเพื่อนำมาพั...