เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก คณะราษฎร

แท็ก: คณะราษฎร

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ถนนราชดำเนิน ถนนราชดำเนินกลาง

นัยของการเวนคืนที่สองฝั่งถนน ห้วงปรับปรุงถนนราชดำเนินกลาง 2482 ยุคคณะราษฎร

อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ที่สร้างขึ้นใหม่บน ถนนราชดำเนินกลาง ถูกมองว่าเป็นหัวใจสำคัญของการปรับปรุงเมืองภายใต้การดำเนินงานของรัฐบาลคณะราษฎร เนื่องมาจากจุด...
วันเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 โหราศาสตร์ สงครามจิตวิทยา

โหราศาสตร์กับการเมืองไทย สู่ “สงครามจิตวิทยา” ในคราวปฏิวัติ 2475 !?

"โหราศาสตร์" เป็นวิชาแขนงหนึ่งที่มีมาแต่โบราณ นับว่ามีความสำคัญต่อวิถีชีวิตของผู้คนตั้งแต่สามัญชนไปจนถึงพระมหากษัตริย์ โดยเฉพาะในราชสำนัก ที่การจะทำกา...
รัฐบาลคณะราษฎร จอมพล ป. พิบูลสงคราม (หลวงพิบูลสงคราม) นายกรัฐมนตรี งบประมาณ

ก่อน 2475 งบรายจ่ายที่จัดสรรให้ภูมิภาค สร้างความเหลื่อมล้ำในท้องถิ่น

ขณะที่รัฐบาลรวบรวมภาษีอากรทั้งหมดซึ่งเรียกเก็บได้จากมณฑลหัวเมืองต่างๆ ทั่วประเทศเข้าสู่ส่วนกลาง แต่การจัดสรร งบประมาณ กลับคืนไปยังมณฑลเหล่านั้นกลับเป็...
รัชกาลที่ 7 พระราชทาน รัฐธรรมนูญ

ปม “สมาชิกประเภทที่ 2” ที่รัชกาลที่ 7 ทรงเปรียบการปกครองคณะราษฎรเป็น “ลัทธิเผด็จ...

ปม "สมาชิกประเภทที่ 2" ที่รัชกาลที่ 7 ทรงเปรียบการปกครองคณะราษฎรเป็น "ลัทธิเผด็จการทางอ้อม" ในระหว่างปี 2477 ขณะที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ...
คณะราษฎร

เปิดห้องประชุมครั้งแรกของ “คณะราษฎร” 7 ผู้ก่อตั้งพูดคุยเรื่องอะไรกัน?...

ราว พ.ศ. 2468 ณ กรุงปารีส ก่อนประวัติศาสตร์ไทยจะรู้จักชื่อ "คณะราษฎร" สองนักเรียนหนุ่มชื่อต้นขึ้นด้วยอักษร "ป. ปลา" จากสยาม ร่วมรับประทานอาหารในร้านเร...
จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ จอมพล ผิณ ชุณหวัน

“นายกรัฐมนตรี” มาจากไหน? ทำไมเรียกว่า “นายกรัฐมนตรี” ?

“นายกรัฐมนตรี” หรือ “หัวหน้าผู้บริหารประเทศ” มีมาแต่อดีต เพียงแต่ยังไม่มีใครคิดตำแหน่งนายกรัฐมนตรีใช้เท่านั้น เช่น จีนใช้คำว่า “ไจ๊เสี่ยง” หรือ “มหาอุ...
พระยาพหลพลพยุหเสนา อดีต นายกรัฐมนตรี

พระยาพหลฯ หลังวางมือการเมือง บั้นปลายชีวิตเหลือเงินติดบ้านร้อยกว่าบาท

หลัง "พระยาพหลพลพยุหเสนา" นายกรัฐมนตรี ยุบสภาฯ ในวันที่ 11 กันยายน พ.ศ. 2481 และจัดให้มีการเลือกตั้งใหม่เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2481 แล้วนั้น สม...
ภาพถ่าย คณะราษฎร ที่ ปารีส มี จอมพล ป. ควง อภัยวงศ์

ภาพถ่ายอะไร? ทำไมทำให้จอมพล ป. อยากได้มากถึงออกปากว่า เท่าไหร่ก็จ่าย

ในเหตุการณ์ต่อไปนี้ คำพูดที่ว่า “ภาพหนึ่งภาพแทนคำพูดนับพัน” คงจะใช้อ้างอิงได้ดี ยิ่งเมื่อเห็นภาพบุคคลที่รู้จัก หรือภาพตัวเองอยู่ด้วยแล้ว บางที “คำพูดน...
ภาพถ่าย พระยาพหลพลพยุหเสนา พจน์ พหลโยธิน ขณะ บวช เป็น นาค

“คฤหัสถ์” นาม พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) พ.ศ. 2430-90

พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) “‘ชาติเสือต้องไว้ลาย ชาติชายต้องไว้ชื่อ’ เป็นสุภาษิตที่เหมาะแก่การทหาร ข้าพเจ้าจึงได้เลือกเอามาเป็นบทประจำดวงตราของ...

เบื้องหลังคณะราษฎรตั้ง “ตำรวจสันติบาล” และบทบาทตร.สาขาพิเศษในการเมืองหลัง 2475...

ย้อนรอยเส้นทางจากยุคคณะราษฎรตั้ง "ตำรวจสันติบาล" ตำรวจสาขาพิเศษต่างจากตำรวจทั่วไปและบทบาทตร.สาขาพิเศษกลุ่มนี้ในการเมืองหลัง 2475 เนื้อหานี้คัดบางส่...

คณะราษฎรเข้าเฝ้าร.7 หลังปฏิวัติ เผยพระราชดำรัส “ทำไมไม่เปลี่ยนเป็น Republic เสีย...

ไม่กี่วันให้หลังหลังจากการปฏิวัติการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 "คณะราษฎร" อย่าง พระยามโนปกรณ์นิติธาดา, พระยาศรีวิสาร, พระยาปรีชาชลยุทธ, พระยาพหลพล...

2 มีนาคม 2477 รัชกาลที่ 7 ทรงประกาศสละราชสมบัติ

2 มีนาคม 2477 รัชกาลที่ 7 ทรงประกาศสละราชสมบัติ “…ข้าพเจ้าเต็มใจที่จะสละอำนาจอันเป็นของข้าพเจ้าอยู่เดิมให้แก่ราษฎรโดยทั่วไป แต่ข้าพเจ้าไม่ยินยอมยกอ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น