เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 24 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก คณะราษฎร

แท็ก: คณะราษฎร

อนุสาวรีย์เทอดรัฐธรรมนูญ จังหวัดมหาสารคาม สร้างแล้วเสร็จเมื่อ พ.ศ. ๒๔๗๗ เป็นอนุสาวรีย์ที่มีสัญลักษณ์รัฐธรรมนูญแห่งแรกของประเทศสยาม, อนุสาวรีย์รัฐธรรมนูญ

“อนุสาวรีย์รัฐธรรมนูญ” ในอีสาน “อนุสรณ์รำลึกประชาธิปไตย” แห่งแรกของไทย

“อนุสาวรีย์รัฐธรรมนูญ” ชื่อที่เราส่วนใหญ่ไม่คุ้นหู ลองค้นหาในกูเกิ้ล แม้จะแสดงผลการค้นหาประมาณ 131,000 รายการ หากคำตอบที่ได้เกือบทั้งหมดเป็น “อนุสาวรี...
รัชกาลที่ 7 พระราชทาน รัฐธรรมนูญ

“10 ธันวาคม” วันรัฐธรรมนูญ กับพระราชหฤทัยร.7 จากฉบับชั่วคราวถึง “ฉบับถาวร”...

วันรัฐธรรมนูญ "10 ธันวาคม" กับพระราชหฤทัย รัชกาลที่ 7 จากฉบับชั่วคราว ถึง "ฉบับถาวร" ในวันที่ 24 มิถุนายน 2475 กลุ่มคณะราษฏรได้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปก...
งานวันกาชาด สภากาชาด ที่ สถานเสาวภา พ.ศ. 2471

กิจการสังคมสงเคราะห์ของ “กาชาด” ในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองของไทย

ย้อนดูกิจการสังคมสงเคราะห์ของ “สภากาชาด” ในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมืองของไทย “สภากาชาด” กิจการสังคมสงเคราะห์สำคัญหนึ่งที่ก่อตั้งมายาวนาน ในเมืองไทยน...
ผู้ชย ช่างออกแบบ เมรุ

“เมรุ” วัดไตรมิตรฯ เมรุถาวรสำหรับเผาศพสามัญชนแห่งแรกของไทย

“เมรุ” ที่วัดไตรมิตรฯ เป็นมรดกสถาปัตยกรรมที่สำคัญมากที่สุดของการปฏิวัติ 2475 เพราะเมรุ หรือ ที่เผาศพ แห่งนี้ เป็น “เมรุถาวรสำหรับเผาศพสามัญชน” แห่งแรก...
ลูกเสือ โรงเรียนสวนกุหลาบ หมุดพิทักษ์รัฐธรรมนูญ

บทบาท “ลูกเสือ” กับการพิทักษ์ประชาธิปไตย ในเหตุการณ์กบฏบวรเดช

เมื่อกลางเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช เป็นผู้นำฝ่ายอนุรักษนิยม ยกกองทัพประชิดพระนคร ที่รู้จักกันในชื่อ "กบฏบวรเดช" หมายล้มรัฐบ...

3 สิงหาคม 2478 กลุ่ม “กบฏนายสิบ” ถูกจับกุมฐานวางแผนยึดอำนาจจากคณะราษฎร

เหตุการณ์ “กบฏนายสิบ” เกิดขึ้นด้วยความริเริ่มของกลุ่มนายทหารชั้นประทวน เพื่อยึดอำนาจจากคณะราษฎร ผู้เปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ สู่...
ภาพถ่ายทางอากาศ วังนางเลิ้ง ทำเนียบรัฐบาล บ้านนรสิงห์

“บ้านนรสิงห์” ญี่ปุ่นไม่เคยขอเช่า เจ้าของไม่ได้อยากขาย แต่รัฐบาลอยากจะได้เอาไว้เ...

บ้านนรสิงห์ ซึ่งปัจจุบันเป็นที่ตั้งของ ทำเนียบรัฐบาล นั้น ครั้งหนึ่งเคยเป็นทรัพย์สินของ เจ้าพระยารามราฆพ (หม่อมหลวงเฟื้อ พึ่งบุญ) ซึ่งได้รับพระราชทานท...
วัดประชาธิปไตย วัดพระศรีมหาธาตุ วัด

จาก “วัดประชาธิปไตย” ถึง “วัดพระศรีมหาธาตุ” วัดสัญลักษณ์ประชาธิปไตย

“...ขณะนี้ทุกสิ่งทุกอย่างเข้าสู่ภาวะปกติแล้วควรจะทำบุญอะไรสักอย่าง มีความเห็นว่าควรสร้างวัดสักแห่งหนึ่ง...” คำปรารภของพระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิ...
คณะ ผู้แทนราษฎร ไป ดูงาน ที่ ประเทศ ญี่ปุ่น พ.ศ. 2478

ผู้แทนราษฎรชุดแรกของไทยไปดูงานที่ญี่ปุ่นเห็นอะไร? ได้อะไร?

สินค้าญี่ปุ่น, อาหารญี่ปุ่น, สถานที่ท่องเที่ยวญี่ปุ่น ฯลฯ เป็นที่นิยมชมชอบของคนไทยจำนวนไม่น้อยมานาน ดูเหมือนว่าบรรดาประเทศในเอเชียด้วยกัน “ญี่ปุ่น” เป...
รัชกาลที่ 7 คณะราษฎร

4 กรกฎาคม 2475 รัชกาลที่ 7 พระราชทานอภัยคณะราษฎร กรณีประกาศ 24 มิถุนายน

พระราชหัตถเลขาของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 พระราชทานอภัยแก่คณะราษฎร กรณีประกาศ 24 มิถุนายน 2475 มีเนื้อหาดังนี้ “วังสุโขทัย ...
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา พระยามโนฯ

2 กรกฎาคม 2475 พระยามโนฯ ยื่นหนังสือขอพระราชทานอภัย สืบเนื่องจากประกาศคณะราษฎร

หนังสือขอพระราชทานอภัยยื่นโดย "พระยามโนฯ" (พระยามโนปกรณ์นิติธาดา) สืบเนื่องจากประกาศคณะราษฎร มีเนื้อหาดังนี้ “วันที่ 2 กรกฎาคม พุทธศักราช 2475 ข...
หมู่มวลประชาชน ยืน เฉลิมฉลอง รื่นเริง งาน วันชาติ 2482

ย้อนดูบรรยากาศวันชาติครั้งแรก ”24 มิถุนายน 2482“ การเฉลิมฉลองเพื่อประชาชนทุกชั้น...

รู้หรือไม่? เมื่อ 80 กว่าปีก่อน "วันชาติ" ของเรานั้นตรงกับวันที่ 24 มิถุนายน และมีการฉลองอย่างยิ่งใหญ่ ทั้งกิจกรรมมากมายตั้งแต่เช้าจรดค่ำ ว่าแต่จะมีอะ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น