เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอาทิตย์ที่ 11 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก ข้าราชการ

แท็ก: ข้าราชการ

หลวงวินิจทัณฑกรรม บึ้ง คิณสูลานนท์

หลวงวินิจทัณฑกรรม ต้นสกุล “ติณสูลานนท์” กับรักแรกพบ-ขายทรัพย์สินหมดแต่ส่งลูกเรีย...

ชีวิตของ หลวงวินิจทัณฑกรรม ต้นสกุล "ติณสูลานนท์" กับรักแรกพบ-ขายทรัพย์สินหมด แต่ส่งลูกเรียนได้ สกุล ติณสูลานนท์ ได้รับพระราชทานจากพระบาทสมเด็จพระมง...

วาทะพุทธทาส การทำให้ประชาชนน้ำตาตก เป็นบาปมหันต์ของข้าราชการ

เมื่อปี 2526 พระธรรมโกศาจารย์ หรือ พุทธทาสภิกขุ (พ.ศ. 2449-2536) แห่งสวนโมกพลาราม เขียนบทความชื่อ “ปรมัตถธรรม สำหรับข้าราชการพลเรือน” (วารสารข้าราชการ...

กำเนิดและพัฒนาการในระยะแรกของคนชั้นกลาง

บทความนี้เป็นการคัดย่อเนื้อหาบางส่วนจากบทความของ ศ.ดร. นิธิ เอียวศรีวงศ์ ชื่อ “วัฒนธรรมทางการเมืองไทย” (ศิลปวัฒนธรรม, ฉบับเดือนมกราคม 2551) ที่เนื้อหา...

ร้านขายข้าวแกงมีมาตั้งแต่เมื่อไหร่?

ส. พลายน้อย เขียนอธิบายใน "กระยานิยาย" ว่า คนไทยในอดีตไม่นิยมกินข้าวนอกบ้าน เพราะสมัยก่อนทำงานนอกบ้านเช่นทำไรทำนาก็เตรียมข้าวไปกินเอง หรือมีคนเอาไปส่ง...
ภาพถ่ายมุมสูง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (ภาพจากหอประวัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

ต้นเหตุกำเนิดมหาวิทยาลัยครั้งแรกในไทย ทำไมก่อตัวเป็น “จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย”...

การถือกำเนิดของ "มหาวิทยาลัย" เป็นครั้งแรกในไทย เกิดขึ้นโดยเริ่มมาจาก โรงเรียนสำหรับฝึกหัดวิชาข้าราชการฝ่ายพลเรือน แล้วต่อมาจึงสถาปนา จุฬาลงกรณ์มหาวิท...

อัตลักษณ์ข้าราชการ ในทัศนะของกรมพระยาดำรง ฯ

บทความนี้ คัดย่อมาจาก “ข้าราชการ กับ ราษฎร ในทัศนะของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ” ของสายชล สัตยานุเคราะห์ ที่เคยตีพิมพ์ในนิตยสาร “ศิลปวัฒนธรรม” ฉบับเดือน...

“ขุนนาง” มาจากไหน ทำไมเรียกว่าขุนนาง ศัพท์คำนี้มีความหมายอย่างไร

ขุนนาง หรือข้าราชการสมัยโบราณ ไม่มีเงินเดือนเช่นปัจจุบัน แต่ก็เป็นที่นิยมของคนไทยมาก ความนิยมดังกล่าวก็ยังคงไม่คลายมนต์ลงไปสักเท่าใด ผู้ใหญ่จึงมักอวยพ...

ย้อนอดีตคดี “ละเมิดทางเพศ” สมัยร.5 เมื่อข้าราชการชายเบ่งอำนาจ กดขี่สตรี...

คดีความที่เกี่ยวข้องด้วยเรื่องการข่มขืนกระทำชำเราในสมัยรัชกาลที่ 5 มีอยู่ไม่น้อย โดยเฉพาะคดีที่บรรดาข้าราชการชายที่ใช้อำนาจหน้าที่มิชอบกดขี่ข่มเหงสตรี...
พระยาสัจจาภิรมย์อุมราชภักดี ถ่ายเมื่อ พ.ศ. 2467 ประกอบกับฉากหลัง

“พระยาสัจจาภิรมย์” เจ้าเมืองหัวก้าวหน้า กับปัญหาราชการ สั่งงานแต่ไม่มีงบ-ไม่ยอมใ...

"พระยาสัจจาภิรมย์ อุดมราชภักดี" เป็นข้าราชการในยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่มีความสามารถทั้งด้านการปกครอง รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์ เป็นคนเก่ง กล้าหาญ เด็ดเดี่...

ข้าราชการสมัย ร.6 เคยหยุดวันปีใหม่ (แบบเก่า) ถึงวันสงกรานต์ ยาวนานติดต่อกัน 31 ว...

วันหยุดราชการของสยามประเทศจากการค้นเอกสารเท่าที่จะหาได้ ปรากฏในราชกิจจานุเบกษาสมัยรัชกาลที่ 6 เมื่อ พ.ศ. 2457 ที่ทรงมีพระบรมราชโองการประกาศกำหนดวันหยุ...

วิกฤต “ข้าวแพง” สมัย ร.6 รัฐบาลแก้ปัญหาข้าราชการฝรั่งขอขึ้นเงินเดือนอย่างไร?...

วิกฤตข้าวแพงเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยเป็นผลสืบเนื่องมาจากทุพภิกขภัยครั้งใหญ่ในประเทศติดต่อกัน เริ่มจากเกิด...

ภาษาอังกฤษ รู้-ไม่รู้ มีผลต่อความก้าวหน้าในราชการ ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 5

แม้การเรียนภาษาอังกฤษที่เริ่มขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 5 จะยังไม่แพร่หลายนัก แต่ “ภาษาอังกฤษ” ก็เริ่มเป็นเงื่อนไขในความก้าวหน้าในราชการ ดังจะเห็นได้จากกรณีต...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น