เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพุธที่ 7 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก การคมนาคม

แท็ก: การคมนาคม

การเดินทาง รถไฟสยาม ไปรษณียบัตร รัชกาลที่ 5

รัฐกับความเร็ว : ต่างชาติในอดีตเล่า บางกอกไปเชียงใหม่ ใช้เวลาเท่าบรัสเซลส์ไปบางก...

ตั้งแต่มีการนำเครื่องจักรไอน้ำมาติดตั้งในพาหนะ "การเดินทาง" ในศตวรรษที่ 19 ก็เข้าสู่ยุคสมัยของการปฏิวัติ พาหนะแรกที่เดินด้วยกำลังเครื่องจักรไอน้ำอย่าง...

คนตราดมา กทม. ยังไง? เมื่อไม่มี ถ.สุขุมวิท และนานแค่ไหนเมื่อเป็นลูกรัง?

“ถนนสุขุมวิท” หรือ “ทางหลวงแผ่นดิน หมายเลย 3” เป็นถนนเส้นทางสายตะวันออกเลียบชายฝั่งทะเล ผ่านจังหวัดในภาคตะวันออกตอนล่างของประเทศไทย เริ่มจากกรุงเทพฯ ผ...

จุดประสงค์การขุด “คลอง” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่แปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย อย่างไร?...

ในบทความเรื่อง คลองกับระบบเศรษฐกิจของไทย พ.ศ. 2367-2453 ของ กิตติ ตันไทย ได้อธิบายถึงการขุดคลองในเมืองไทยในอดีตว่ามีวัตถุประสงค์แท้จริงเพื่ออะไร รวมทั...

พระนาม “วชิรุณหิศ” ที่พระราชทานเป็นชื่อถนน แกะรอยเส้นทางนี้ อยู่จุดไหนในปัจจุบัน...

“...ถนนสายนี้จะให้ชื่อว่า วชิรุณหิศ เพราะผ่านไปใน ที่ซึ่งตั้งใจจะให้เปนที่บ้านของเขา...” ข้อความข้างต้น มาจากพระราชหัตถเลขาของ พระบาทสมเด็จพระจุลจ...

กว่าจะมี “รถบรรทุก” ปรากฏในไทยครั้งแรก ย้อนอดีตยุคก่อนรถยนต์วิ่งว่อน ต้องผ่านอะไ...

การคมนาคมสมัยต้นรัตนโกสินทร์มีการขนส่งทางเรือได้รับความนิยมยาวนานกว่าร้อยปี กระทั่งสภาพสังคมเปลี่ยนแปลงไปตามกาลเวลา ถนนหนทางเริ่มพัฒนามากขึ้น การขนส่ง...

กำเนิด “รถไฟสายอีสาน” เมื่อ “สนธิสัญญาเบาริ่ง” ทำให้เกิดทุนนิยมในพื้นที่

ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (2394-2411) ไทยได้ทำสนธิสัญญาเบาริ่งกับอังกฤษใน พ.ศ. 2398 และยังทำสนธิสัญญาแบบเดียวกันนี้กับประเทศในยุโรป ...

ปากพิง-คลองพิง คลองสำคัญบนเส้นทางสัญจร-การค้า-สงคราม ในปวศ.ไทย

ปากพิง คือส่วนหนึ่งของ “คลองพิง” เป็นคลองเชื่อมระหว่างแม่น้ำสำคัญ 2 สาย คือ แม่น้ำน่านกับแม่น้ำยม บริเวณปากคลองที่เชื่อมกับแม่น้ำน่านเรียกว่าปากพิง แล...

จาก “สุขมวิท(ย์)” ถึง “เพ็ชร์เกษม” ไทยเคยนิยมใช้ชื่อบุคคลตั้งชื่อทางหลวง-สะพาน ไ...

ที่ผ่านมานั้นการตั้งชื่อทางหลวงแผ่นดินและสะพานขนาดใหญ่ แต่เดิมนิยมใช้ชื่อบุคคลเพื่อเป็นอนุสรณ์และเป็นเกียรติแก่ผู้มีส่วนประกอบคุณงามความดีต่อประเทศชาต...

สมัยคุณทวดใช้รถยี่ห้ออะไรกัน เอเย่นต์ อู่มีบริการอะไรบ้าง

รถยนต์มีครั้งแรกในประเทศไทยเมื่อปลายรัชกาลที่ 5 ในระยะแรกใครมีรถยนต์ขับขี่ได้ต้องเป็นเจ้านาย, เป็นขุนนางราชสำนัก, เป็นคฤหบดีผู้มีเงินมาก ฯลฯ หลังจากที...

จุดกำเนิดเครือข่ายการเดินทางด้วยรถโดยสารประจำทาง และสถานีขนส่งในกรุงเทพฯ

รถยนต์โดยสารประจำทาง การเดินทางภายในประเทศไทย กิจการขนส่งทางบกนั้น อาจแบ่งประเภทหยาบ ๆ ได้ 2 ส่วน นั่นคือ ส่วนรับส่งสินค้า และส่วนรับส่งผู้โดยสาร ในก...

2469 รถไฟมาถึงจังหวัดสุรินทร์ ความเจริญ-ของอร่อย ของแปลกที่มาพร้อมกัน

เรื่องการเดินรถไฟถึงจังหวัดสุรินทร์เป็นครั้งแรกนั้นเป็นอย่างไร ไพบูลย์ สุนทรารักษ์ เขียนไว้ในบทความชื่อ ข่าวรถไฟ เมื่อปี 2469 ว่าเมื่อ 90 กว่าปีก่อน ค...

แรกมีรถไฟไปมณฑลพายัพ ลดเวลาเดินทาง-ค่าขนส่ง ฯลฯ แต่ปชช.จนเหมือนเดิม?

การคมนาคมแต่เดิมของไทยอาศัยแม่น้ำลำคลองเป็นหลัก ซึ่งจะเกิดความสะดวก หรือเป็นอุปสรรคก็ขึ้นอยู่กับเส้นทางของลำน้ำนั้น ในส่วนของพื้นภาคเหนือ หรือล้านนาใน...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น