เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 27 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก กรุงธนบุรี

แท็ก: กรุงธนบุรี

กฤษณาสอนน้องคำฉันท์ จิตรกรรมฝาผนัง พระอุโบสถ วัดดาวดึงษาราม

“กฤษณาสอนน้องคำฉันท์” ฉบับธนบุรี ว่าด้วยหญิงในอุดมคติของชายไทยผ่านวรรณกรรม

“กฤษณาสอนน้องคำฉันท์” ฉบับธนบุรี ว่าด้วย “หญิงในอุดมคติ” ของชายไทย วรรณกรรมเป็นสื่อที่ให้ความบันเทิงกับผู้คน ตอบสนองความต้องการด้านสุนทรียะของผู้คน...
พระยาพิชัย ละครหนึ่งด้าวฟ้าเดียว

ใครสั่งประหารพระยาพิชัย? โดนประหารจริงหรือ?

น่าเสียดายที่พระราชพงศาวดารไม่ได้มีตอนจบของ พระยาพิชัย ไว้ให้ แต่การล้างบางข้าราชการแผ่นดินเก่านั้นเกิดขึ้นจริง กลุ่มแรกเป็นพวกกรมขุนอนุรักษ์สงคราม รว...
พระเจ้าตากสินมหาราช สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี ฉากหลัง เป็น ป้อม กรุงธนบุรี

กรุงธนบุรี หรือจะเป็น “ราชธานี” สำรอง? ทำไมพระเจ้าตากสินฯ ตั้งเป็นเมืองหลวง?...

ในบรรดาราชธานีไทยทั้งหลาย กรุงธนบุรี รับหน้าที่เป็น ราชธานี ที่อายุสั้นที่สุด เพียง 15 ปี ด้วยเหตุนี้กระมังที่ทำให้ธนบุรีในปัจจุบันยังเหลือพื้นที่ที่เ...
จิตรกรรม ฝาผนัง วัดสุทัศน์ ผู้หญิง นางใน

“ไล่จับหนู” เป็นเหตุ พระเจ้าตาก สั่งประหารเจ้าจอมสุดโหด ผ่าอก-ทาเกลือ-ตัดมือเท้า...

ในสมัยกรุงธนบุรี ยุค พระเจ้าตาก เกิดเหตุการณ์ประหาร “เจ้าจอม” สุดสยอง ถึงขั้น “ผ่าอกเอาเกลือทา ตัดมือตัดเท้า” ที่มีต้นเหตุมาจากฝรั่ง “ไล่จับหนู” จนนำไ...
จิตรกรรม สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เกณฑ์ ไพล่พล สร้าง เมืองหลวงใหม่ ที่ กรุงธนบุรี

4 ตุลาคม 2313 พระเจ้าตากสินมหาราช สถาปนา “กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร” เป็นราชธานี

4 ตุลาคม พ.ศ. 2313 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช สถาปนา “กรุงธนบุรีศรีมหาสมุทร” เป็นราชธานี หลังการเสียกรุงศรีอยุธยาในปี 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช...
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ พิษณุโลก ริมแม่น้ำน่าน

ทำไมพระเจ้าตากฯ มาตีเมืองพิษณุโลกเป็นก๊กแรก?

ทำไม พระเจ้าตาก ต้องไปตีก๊กพิษณุโลก ก๊กที่เข้มแข็งที่สุดในเวลานั้นเป็นก๊กแรก สถานการณ์หลังเสียกรุงศรีอยุธยาเป็นอย่างไร พุทธศักราช 2310 พระเจ้าตาก...
รูปปั้น รัชกาลที่ 1

กลียุค ปลายกรุงธนบุรี ในโคลงสรรเสริญพระเกียรติ รัชกาลที่ 1

ใน "โคลงสรรเสริญพระเกียรติ" รัชกาลที่ 1 บอกเล่า "กลียุค" ปลายสมัยกรุงธนบุรี  ประเทศสยามมีดวงสัมพันธ์กับเดือนเมษายน อย่างอัศจรรย์ ราวกับเทพลิขิตไว้ ...
พระยาพิชัยดาบหัก อนุสาวรีย์ อุตรดิตถ์

“พระยาพิชัยดาบหัก” ในคราวตีฝ่าวงล้อมออกจากกรุงศรีฯ พร้อม “พระเจ้าตาก”

การไล่เรียงประวัติของบุคคลในประวัติศาสตร์ที่มีอายุย้อนไปเป็นร้อย ๆ ปีให้ตรงกับข้อเท็จจริงไม่ใช่เรื่องง่าย โดยเฉพาะประวัติของบุคคลธรรมดา หรือข้าราชการท...

เปิดแง่มุม “กรุงธน-กรุงเทพฯ” ที่ (อาจ) ไม่รู้จัก ผ่านโบราณคดีเมืองและแผนที่

เรื่องราวของ กรุงธน และ กรุงเทพฯ อาจมีการศึกษาวิจัยแล้วมากมาย แต่ก็ยังมีเรื่องราวอีกไม่น้อยที่รอการค้นพบผ่านแง่มุมของโบราณคดีเมืองและแผนที่ ซึ่งเวที “...

“ท้องกับเจ๊ก” การเมืองราชสำนักฝ่ายใน เรื่องซุบซิบเจ้าหญิงอยุธยาในพระเจ้าตากสินฯ

“การเมือง” ในราชสำนักฝ่ายใน ทุกยุคทุกสมัยในสังคมเจ้านายฝ่ายหญิง คงไม่ใช่การเมืองเพื่อชิงบ้านชิงเมือง แต่มักจะเป็นการชิง “พื้นที่” ความใกล้ชิดกับ “เหนื...

ท้าวทรงกันดาล (ทองมอญ) แม่วังยุคธนบุรี ศูนย์กลางอำนาจของฝ่ายในสมัยพระเจ้าตาก

ชาวมอญเป็นกลุ่มคนที่มีบทบาทสำคัญบนหน้าประวัติศาสตร์ไทยมาตลอดหลายยุคหลายสมัย ไม่ว่าบุรุษหรือสตรี โดยในช่วงยุคปลายกรุงศรีอยุธยา ก็ปรากฏชื่อของสตรีชนชั้น...

พระเจ้าตาก กษัตริย์ผู้ทรงบำบัดทุกข์บำรุงสุขราษฎร “อิ่มก็อิ่มด้วยกัน อดก็อดด้วยกั...

รัชกาลที่ 5 ทรงอธิบายถึงสถานการณ์ในยุคต้นกรุงธนบุรีว่า "...เหตุด้วยเวลานั้น เจ้ากรุงธนบุรีตั้งตัวเปนเหมือนอย่างเถ้าแก่ฤๅกงสี คนทั้งปวงเหมือนกุลี เถ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น