เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 5 ตุลาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก กบฏบวรเดช

แท็ก: กบฏบวรเดช

พระยาศรีสิทธิสงคราม เสียชีวิต คราว กบฏบวรเดช ฉากหลังเป็นภาพรางรถไฟ

กระสุนปริศนาปลิดชีพ “พระยาศรีสิทธิสงคราม” (ดิ่น ท่าราบ) ขณะกบฏบวรเดชหนี...

กบฏบวรเดช เมื่อ พ.ศ. 2476 ปรากฏขึ้นเพียงปีเดียวหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง กลุ่มผู้กระทำการเรียกตัวเองว่า "คณะกู้บ้านเมือง" มี พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบว...
หลวงสงครามวิจารณ์

“หลวงสงครามวิจารณ์” ภักดีราชวงศ์แต่อาภัพ ฎีกาขอพระราชทานยืมเงินร.7 สู่เหยื่อการเ...

ช่วงการเมืองเข้มข้นร้อนแรง การดำเนินการกับฝ่ายตรงข้ามที่มีท่าทีคุกคามฝ่ายตัวเองยังมีให้เห็นกันได้ในหลายยุคสมัย ถ้าพูดถึง เหยื่อการเมือง ในยุคที่ประชาธ...
อนุสาวรีย์ปราบกบฏ กบฏบวรเดช พระองค์เจ้าบวรเดช ตุลาคม ปี 2476

ที่มาของ “อนุสาวรีย์ปราบกบฏ”

"อนุสาวรีย์ปราบกบฏ" มีที่มาอย่างไร เกี่ยวพันประการใดกับ "กบฏบวรเดช" ที่นำโดย พระองค์เจ้าบวรเดช ศรัญญู เทพสงเคราะห์ ถ่ายทอดไว้ในบทความ "อนุสาวรีย์ปราบก...
พระองค์เจ้าบวรเดช กบฏบวรเดช

ชีวิต “แฉล้ม เลี่ยมเพ็ชรรัตน์” โหรในกบฏบวรเดช หนีเกาะตะรุเตาสำเร็จเพราะดูดวงก่อน...

ชีวิต "แฉล้ม เลี่ยมเพ็ชรรัตน์" โหรใน "กบฏบวรเดช" หนี "เกาะตะรุเตา" สำเร็จ เพราะดูดวงก่อน? การเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 นำมาซึ่งระบอบการปกครองแบบประ...
ลูกเสือ โรงเรียนสวนกุหลาบ หมุดพิทักษ์รัฐธรรมนูญ

บทบาท “ลูกเสือ” กับการพิทักษ์ประชาธิปไตย ในเหตุการณ์กบฏบวรเดช

เมื่อกลางเดือนตุลาคม พ.ศ. 2476 พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช เป็นผู้นำฝ่ายอนุรักษนิยม ยกกองทัพประชิดพระนคร ที่รู้จักกันในชื่อ "กบฏบวรเดช" หมายล้มรัฐบ...
กบฏบวรเดช ทหาร ฝ่าย รัฐบาลvideo

“สู่สมรภูมิบางเขน” กำเนิดและจุดสุดท้ายของกบฏบวรเดช (ชมคลิป)

กบฏบวรเดช เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม 2476 เกิดขึ้นเมื่อ พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม พร้อมกลุ่มทหารหัวเมือง นำกำลังเข้าเข้ายึดกร...
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ผู้นำ กบฏบวรเดช

11 ต.ค. 2476 เกิด “กบฏบวรเดช” กลุ่มทหารยึดดอนเมือง ปะทะรัฐบาลจนเกิดสูญเสีย...

วันที่ 11 ตุลาคม 2476 เกิด "กบฏบวรเดช" นำโดย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม พร้อมกลุ่มทหารเข้ายึดบริเวณดอนเมือง บีบบังคับให้ร...
ทหารฝ่ายรัฐบาลใน กบฏบวรเดช วังปารุสกวัน

“แผนหลั่งเลือดในวังปารุสก์” ปฏิบัติการปลิดชีพผู้นำคณะราษฎรของ “คณะกู้บ้านเมือง”...

ปฏิบัติการลอบสังหารผู้นำคณะราษฎร ณ วังปารุสกวัน ของแนวร่วมฝ่าย "คณะกู้บ้านเมือง" "ยกทัพวันที่ 10 ถึงกรุงเทพฯ เช้าวันที่ 11" ข้อความถอดรหัสจากโทร...
เครื่องบิน Nieuport-Delage รุ่น NiD 29

เมื่อเครื่องบินตกในวังหลวง ครั้งกบฏบวรเดช เจ้าหน้าที่ต้องหามนักบินออกมาตายนอกวัง...

เรื่อง "เครื่องบินตก" ในวังหลวงจนนักบินตายนี้ เป็นส่วนหนึ่งในเหตุการณ์ "กบฏบวรเดช" เมื่อ พ.ศ. 2476 ถูกบอกเล่าไว้ในหนังสือ "พ. 27 สายลับพระปกเกล้าฯ และ...

บทบาทพลเมืองสยามปราบกบฏบวรเดช ลางาน 7 วันพิทักษ์รธน. ถึงรวมกันบู๊ไล่ทหารได้

เหตุการณ์กบฏบวรเดช 2476 เกิดจากการมิได้รับการยอมรับการปฏิวัติ 2475 จากกลุ่มผู้จงรักภักดีที่ประกอบด้วยเจ้านาย ขุนนาง และเหล่าผู้จงรักภักดี เนื่องจากคนก...
ภาพถ่ายประชาชนจำนวนมากมาต้อนรับทหารที่ไปปราบกบฏกลับถึงกรุงเทพฯ ที่หน้าสถานีหัวลำโพง เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2476 (ภาพจากสมุดภาพพระยาพหลพลพยุหเสนา ภาค 2 : ปราบกบฏ พ.ศ. 2476. ธงชัย ลิขิตพรสวรรค์ : บรรณาธิการ. สำนักพิมพ์ต้นฉบับ, 2558)

บทบาทพลเมืองสยาม ในการปราบกบฏบวรเดช 2476

สำรวจบทบาทพลเมืองสยาม ในการปราบกบฏบวรเดช พ.ศ. 2476 เมื่อประชาชนร่วมบริจาค และอวยพรรัฐในการปราบกบฏ “คนไทยยังไม่พร้อมสำหรับประชาธิปไตย” นี่เป็นคำพูด ...

วังไกลกังวล สมัยรัชกาลที่ 7 ขณะเกิดเปลี่ยนแปลงการปกครอง2475 และ กบฏบวรเดช 2476

วังไกลกังวล สถานที่แปรพระราชฐาน ที่อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ สร้างสมัยพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว  จากความพอพระราชหฤทัยส่วนพระองค์ เพรา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น