เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก กบฏ

แท็ก: กบฏ

ตะแลงแกง ที่ ประหารชีวิต เสียบหัวประจาร วัดพระราม อยู่ทางขวามือ

ตะแลงแกง กับการประหารชีวิต-เสียบหัวประจานนักโทษคดีล้มราชบัลลังก์

ตะแลงแกง หมายถึง สี่แยกซึ่งเป็นจุดตัดของถนนสายหลักในเกาะเมืองศรีอยุธยา คือ ถนนหน้าวัง กับ ถนนหลังวัง ถนนหน้าวัง เป็นถนนที่ตัดออกจากหน้าวังหลวงลงไปทาง...
กบฏธรรมเถียร สมัย พระเพทราชา กรุงศรีอยุธยา กบฏ กบฏไพร่ ไพร่

“กบฏต่างชาติ” ในกรุงศรีอยุธยา แขก-ญี่ปุ่น บุกรุกถึงวังหลวง!

กบฏต่างชาติ ในกรุงศรีอยุธยา มีทั้งแขก ญี่ปุ่น บุกยึดเข้าปล้นถึงใน "วังหลวง" สะท้อนความหละหลวมในราชสำนัก? ช่วงที่กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรยาวนานกว่า...
กบฏธรรมเถียร สมัย พระเพทราชา กรุงศรีอยุธยา กบฏ กบฏไพร่ ไพร่

เปิดเหตุการณ์กบฏไพร่ การต่อต้านอำนาจรัฐของ “ไพร่” ในประวัติศาสตร์ไทย

เปิดเหตุการณ์ "กบฏไพร่" การต่อต้านอำนาจรัฐของ “ไพร่” ในประวัติศาสตร์ไทย รัฐโบราณในดินแดนประเทศไทย อย่างล้านนา, สุโขทัย และอยุธยา ต่างเรียก “กำลังคน...
เพชฌฆาต ลงดาบ นักโทษ ตัดษีรษะ ประหารชีวิต ที่ วักโคก

ประหาร “7 ชั่วโคตร” เรียงตระกูลอย่างไร ใครโดนบ้าง

เรื่อง "ประหาร 7 ชั่วโคตร" เป็นโทษอยู่ใน "กฎมณเฑียรบาล" และ "ลักษณะกบฏศึก" เทพชู ทับทอง เขียนอธิบายไว้ในหนังสือเก่าชื่อ "กรุงเทพฯ แห่งความหลัง" สรุปเน...
ทหารซีปอย กบฏอินเดีย ต่อต้านจักรวรรดินิยมอังกฤษ ปี 1857

กระสุนชโลม “น้ำมันหมู-น้ำมันวัว” หนึ่งในต้นเหตุ “กบฏอินเดีย” ต่อต้านจักรวรรดิอัง...

กระสุนชโลม “น้ำมันหมู-น้ำมันวัว” หนึ่งในต้นเหตุ “กบฏอินเดีย” ที่ ทหารซีปอย ลุกฮือขึ้นต่อต้านจักรวรรดิอังกฤษ ย้อนเวลากลับไปในศตวรรษที่ 19 ที่ประเทศอ...
พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช ผู้นำ กบฏบวรเดช

11 ต.ค. 2476 เกิด “กบฏบวรเดช” กลุ่มทหารยึดดอนเมือง ปะทะรัฐบาลจนเกิดสูญเสีย...

วันที่ 11 ตุลาคม 2476 เกิด "กบฏบวรเดช" นำโดย พระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม พร้อมกลุ่มทหารเข้ายึดบริเวณดอนเมือง บีบบังคับให้ร...
เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต)

ทำไมเจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี ถูกกล่าวหาว่าเป็น “กบฏแผ่นดิน” ?!?

เจ้าพระยาสุรศักดิ์มนตรี (เจิม แสง-ชูโต) (28 มีนาคม พ.ศ. 2394-1 กรกฎาคม พ.ศ. 2474) เข้ารับราชการครั้งแรกเป็น "มหาดเล็ก" สมัยรัชกาลที่ 4 และถวายตัวเป็นม...
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ จอมพลถนอม กิตติขจร

วีรกรรม “จอมพลถนอม” เมื่อครั้งลุยปราบ “กบฏวังหลวง”

ในเหตุการณ์ "กบฏวังหลวง" เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2492 ทหารผู้มีส่วนสำคัญในการปราบกบฏครั้งนั้นนำโดย จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ และโดยเฉพาะ จอมพลถนอม ก...
กบฏจีนนายก่าย ชาวจีน เป็นกบฏ ต่อ กรุงศรีอยุธยา อยุธยา

“กบฏจีนนายก่าย” วางแผนปล้นวังหลวงสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ

“กบฏจีนนายก่าย” การกบฏครั้งสำคัญของ “ชาวจีน” ในสมัย กรุงศรีอยุธยา นับเป็นเหตุการณ์ใหญ่ช่วงต้นแผ่นดิน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ มูลเหตุของกบฏสืบย้อ...
เจ้าฟ้าเหม็น

ย้อนแย้ง! คดีกบฏเจ้าฟ้าเหม็น ขุนนางที่เคยล้มพระเจ้าตาก กลับหนุนเจ้าฟ้าเหม็นชิงบั...

"กบฏเจ้าฟ้าเหม็น" นับเป็นคดีใหญ่ในสมัยรัชกาลที่ 2 เมื่อ "เจ้าฟ้าเหม็น" หรือสมเด็จพระเจ้าหลานเธอ เจ้าฟ้าธรรมาธิเบศร์ กรมขุนกษัตรานุชิต พระราชโอรสในสมเด...

9 กันยายน 2528 “ทหารนอกราชการ” ก่อกบฏ อ้าง “เศรษฐกิจแย่-ว่างงานเยอะ-อาชญากรรมสูง...

“กบฏทหารนอกราชการ” เกิดขึ้นในช่วงเช้ามืดของวันที่ 9 กันยายน 2528 ราว 03.00 น. กลุ่ม “ทหารนอกราชการ” ได้นำกำลังทหารราว 500 นายก่อการยึดอำนาจ โดยการรัฐป...
พระเจ้าตาก และ ทหาร กองทัพ ยกทัพตี ค่ายโพธิ์สามต้น

เปิดสถิติ “กองทัพ” สมัยกรุงธน-ต้นกรุงเทพฯ ใช้คน ใช้ข้าว ใช้เวลา เท่าไหร่ ในการทำ...

กองทัพ ขับเคลื่อนด้วยกำลังคน คนจะมีกำลังรบได้ก็ต้องอาศัยอาหาร ถ้าเป็นช่วงที่บ้านเมืองเกิดความไม่สงบ เช่น ในสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น สยามต้อ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น