เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก อิหร่าน

แท็ก: อิหร่าน

อิหร่าน

การเปลี่ยนแปลงการปกครองของอิหร่าน จากกษัตริย์สู่รัฐอิสลาม

ก่อนจะเป็นรัฐอิสลามอย่างที่เรารู้จักกันในทุกวันนี้  เดิมทีประเทศอิหร่านถูกปกครองโดยกษัตริย์มาเป็นเวลานาน เรารู้จักดินแดนแถบนี้กันในชื่อว่าเปอร์เซีย ก่...
ผู้หญิงอิหร่าน ต่อต้าน บังคับสวมฮิญาบ ของ โคมัยนี

ผู้หญิงอิหร่านจำนวนมากรวมตัวต้านมาตรการ “บังคับสวมฮิญาบ” ในวันสตรีสากล 1979...

การประท้วงครั้งใหญ่ของ "ผู้หญิงอิหร่าน" จำนวนมากรวมตัวต้านมาตรการ "บังคับสวมฮิญาบ" ของอายะตุลลอฮ์ รูฮุลลอฮ์ โคมัยนี ในวันสตรีสากล 1979 ปลายทศวรรษที่ ...
พระเจ้ามะห์มูด สวม เสื้อครุย พระราชทาน จาก กาหลิบกาดิร ครุย ของ เปอร์เซีย กุหลาบเปอร์เชียในแดนสยาม

“ครุย” ร่องรอยภาษาและวัฒนธรรมเปอร์เซียในแผ่นดินสยาม

“ครุย” เสื้อครุย หรือชุดครุย ที่เราคุ้นเคยกันว่าเป็นยูนิฟอร์มสำหรับร่วมพิธีสำเร็จการศึกษาในระดับต่าง ๆ คือมรดกทางวัฒนธรรมและอิทธิพลทางภาษาจากดินแดน “เ...
ขุนนางแขก ขบวนพยุหยาตรา พระกฐินบก กรุงศรีอยุธยา ชาวอิหร่าน

“ชาวอิหร่าน” คนแรกในราชสำนักสยาม ตั้งแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยา

เมื่อเอ่ยถึง ชาวอิหร่าน คนไทยทั่วไปจะคุ้นเคยกับคำว่า เปอร์เซีย (Persia) มากกว่า แต่อันที่จริงคำว่า ปาร์ซ (Pars) หรือปาร์ซี (Parsi) ซึ่งเป็นคำที่ชาวตะว...
สมเด็จพระนารายณ์ ทรงยกพล เข้าตี พระราชวังหลวง อยุธยา

ราชทูตกษัตริย์สุลัยมานบันทึกว่า ชาวเปอร์เซีย (อิหร่าน) ช่วย พระนารายณ์ ยึดบัลลัง...

"สำเภากษัตริย์สุลัยมาน" เป็นบันทึกโดยอาลักษณ์ของคณะราชทูตเปอร์เซียของกษัตริย์สุลัยมานแห่งราชวงศ์เศาะฟะวียฮฺที่เดินทางเข้ามายัง "กรุงศรีอยุธยา" ในสมัย ...
ทหาร ของ อิรักเคอร์ดิสถาน แถบ ตะวันออกกลาง เคิร์ด ใน อิรัก

การต่อสู้ของ “เคิร์ด” (Kurd) ชาติพันธุ์แห่งตะวันออกกลาง รบเพื่อเอกราช-ปกครองตนเอ...

เคิร์ด (Kurd) ชาติพันธุ์คนกลุ่มน้อยในหลายประเทศแถบ "ตะวันออกกลาง" ที่ไร้แผ่นดินของตนเอง อันเป็นผลพวงมาจากจักรวรรดินิยมที่ขีดเส้นแบ่งพรมแดนด้วย "ผลประโ...
อยาตุลเลาะห์ โคมัยนี ผู้นำศาสนา อิหร่าน นำ ปฏิวัติอิสลาม ค.ศ. 1979

อิหร่านหลังปฏิวัติอิสลาม ล้มพระเจ้าชาห์ สู่ปมปัญหานิวเคลียร์-ชนวนพิพาทสหรัฐฯ

"อิหร่าน" หลัง "ปฏิวัติอิสลาม" ล้ม "พระเจ้าชาห์" สู่ปมปัญหานิวเคลียร์-ชนวนพิพาท สหรัฐฯ อิหร่าน เกิดการ "ปฏิวัติอิสลาม" เพื่อโค้นล้มระบอบสมบูรณาญาสิ...

ที่มาของภาพถ่ายการประหารชีวิตด้วย “ปืนใหญ่” ในอิหร่าน

ภาพถ่ายระบุว่าเป็นการประหารชีวิตด้วยปืนใหญ่ในเมืองชีราซ (Shiraz) ประเทศอิหร่าน เมื่อทศวรรษที่ 1890 (ราว พ.ศ. 2433-2442) รายงานระบุว่าการประหารชีวิตด้...
ชาวเปอร์เซีย จิตรกรรมฝาผนัง มโหสถ วัดสุวรรณาราม

อาลักษณ์อิหร่านบันทึกถึง “ชาวสยาม” สมัยพระนารายณ์ ไว้อย่างไรบ้าง?

ในสมัยพระนารายณ์ กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา เป็นช่วงเวลาที่ได้มีการติดต่อเจริญสัมพันธไมตรีกับหลายเชื้อชาติ ชาวต่างชาติที่เข้ามาในดินแดนนี้จึงได้บันทึกเ...

ร่องรอย “บาม” เมืองโบราณในอิหร่าน สร้างจากอิฐดิบ เคยรุ่งเรือง สู่จุดพลิกผันเสียห...

คืนของวันที่ 26 ธันวาคม 2546 หนึ่งวันหลังคริสต์มาส ปีที่คนในโลกตะวันตกเฉลิมฉลองด้วยความกังวลภัยของการก่อการร้าย (ตามการคาดการณ์ของหน่วยข่าวกรองอเมริกั...

“อยาตุลเลาะห์ นาจาฟี” ห้องสมุดจากหัวใจคนรักหนังสือ ในประเทศอิหร่าน

เมื่อกล่าวถึง เมืองกุม (บ้างเรียกว่า “เมืองกุนี”) ในประเทศอิหร่าน อาจไม่ค่อยเป็นที่รู้จักของคนส่วนใหญ่ แต่เมืองกุมคือศูนย์กลางทางการศึกษาและวัฒนธรรมอิ...

นักโบราณฯ อิหร่านเชื่อพบภาพสลักอายุกว่า 4 หมื่นปี หนึ่งในศิลปะเก่าแก่ที่สุดในโลก...

ดร.โมฮัมเมด นาเซริฟาร์ด (Mohammed Naserifard) ใช้เวลานานหลายปีในการสำรวจเนินเขาและทุ่งทะเลทรายในเขตโคเมน (Khomein) ภาคกลางของประเทศอิหร่าน เพื่อทำการศ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น