เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก อยุธยา

แท็ก: อยุธยา

ภาพวาด ออกญาเสนาภิมุข หรือ ยามาดะ นางามาซะ ฉากหลัง เป็น ภาพวาด อยุธยา

ย้อนรอย “ยามาดะ” ออกญาเสนาภิมุข ซามูไรแห่งอยุธยา และจุดจบตามข้อมูลประวัติศาสตร์

ความสัมพันธ์ไทย-ญี่ปุ่น เกิดขึ้นอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2430 จากที่สองประเทศลงนามใน “ปฏิญญาว่าด้วยทางพระราชไมตรีและการค้าขายระหว่าง...
โคลงภาพ สร้าง กรุงศรีอยุธยา ประกอบ บทความ หน้าร้อน

บันทึกฝรั่ง “ฤดูกาล” เมืองไทยสมัยกรุงศรีฯ หน้าหนาว 2 เดือน อีก 10 เดือนเป็น “หน้...

“หน้าร้อน” เมืองไทยทุกวันนี้ร้อนขนาดไหน ไม่ต้องบรรยายเพราะรับรู้กันอยู่ แล้ว “หน้าร้อน” ในอดีตของไทย อย่างในสมัย กรุงศรีอยุธยา เป็นอย่างไร เรื่องนี้มี...
ภาพวาด พระสุพรรณกัลยา วัดดอนเจดีย์ สุพรรณบุรี ขัตติยนารี แห่ง กรุงศรีอยุธยา

ค้นหลักฐานชะตากรรมพระสุพรรณกัลยา “ขัตติยนารี” แห่งอยุธยา และเหตุสิ้นพระชนม์...

พระสุพรรณกัลยา ขัตติยนารี แห่ง กรุงศรีอยุธยา ทรงเป็นเฉกเช่นขัตติยนารีอีกหลายพระองค์ที่ไม่เพียงไม่ปรากฏพระนาม และพระจริยวัตรในพระราชพงศาวดาร แต่กลับมีเ...
พ่อค้าเกวียน คนโคราช นครราชสีมา

คนโคราช ไม่ใช่ “ลาว” แล้วคนโคราชเป็นใคร? มาจากไหน?

"คนโคราช" เป็นคำที่เรียกผู้ที่อยู่อาศัยในพื้นที่ "นครราชสีมา" (โคราช) ซึ่งเป็นบ้านเมืองที่เก่าแก่ที่สุดแห่งหนึ่งของไทย สุจิตต์ วงษ์เทศ ได้เขียนถึงเรื่...
ละคร พรหมลิขิต ฉาก พระเพทราชา ครองราชย์ พิธีบรมราชาภิเษก กษัตริย์ อยุธยา ราชวงศ์บ้านพลูหลวง

พระเพทราชาเถลิงราชย์ ชาวบ้านพลูหลวงปีติ “นายเรามีบุญ” กินเหล้าร้องเพลงฉลองในวัง

"พระเพทราชา" เถลิงราชย์เป็นปฐมกษัตริย์ "ราชวงศ์บ้านพลูหลวง" กรุงศรีอยุธยา ชาวบ้านพลูหลวงปีติ "นายเรามีบุญ" หลังเสร็จพระราชพิธีปราบดาภิเษก พระญาติวงศ์ก...
ขุนแผน

“หุ่นพยนต์” มนตราแห่ง “ขุนช้างขุนแผน” ศาสตร์ไม้เด็ดเปลี่ยนหุ่นหญ้าเป็นกองทัพสุด ...

“หุ่นพยนต์” หมายถึง “รูปที่ผู้ทรงวิทยาคมเอาวัตถุมาผูกขึ้นแล้วเสกเป่าให้เป็นเหมือนรูปที่มีชีวิต” โดยคำว่า พยนต์ (อ่านว่าพะยน) หมายถึง “สิ่งที่ผู้ทรงวิท...
ผู้หญิงอยุธยา จูง ลูก กับ ขุนนาง อยุธยา

เป็นผู้หญิง (อยุธยา) แท้จริงแสนลำบาก ต้องทำไร่ไถนา ขายของ เลี้ยงลูก ส่วนชายนั้นข...

"ผู้หญิงอยุธยา" มีภารกิจหนักหน่วงอย่างยิ่ง เพราะต้องดูแลบ้านเรือน พ่อแม่ พี่น้อง ลูกและผัวด้วยตัวคนเดียว ยิ่งกว่านั้น ยังต้องทำไร่ไถนา บางทีต้องไปขายข...
วัดโกโรโกโส อยุธยา

วัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ทำไมใช้ชื่อ “วัดโกโรโกโส”

วัดโกโรโกโส เป็นวัดเก่าแก่ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สถานที่ตั้งวัดปัจจุบัน คือ ริมคลองข้าวเม่า (บ้างเรียก คลองบาตร, คลองกระมัง) ตำบลข้าวเม่า อำเภออุทัย...
โรตีสายไหม

“โรตีสายไหม” ทำไมถึงเรียกโรตี ทั้งที่ไม่ใช้แป้งโรตี?

โรตีสายไหม เป็นขนมหวานขึ้นชื่อประจำจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ที่นักท่องเที่ยวนิยมซื้อกลับไปเป็นของฝากเมื่อได้มาเที่ยวชมดินแดนประวั...
ภาพ ยูเดีย หรือ กรุงศรีอยุธยา ภาพกรุงศรีอยุธยา อาณาจักรอยุธยา อยุธยา

อยุธยา เคยมีต่างชาติอยู่กว่า 40 ชนชาติ ใช้กว่า 20 ภาษา และถูกยกย่องให้เป็นเมืองท...

“อยุธยา” ถือเป็นยุคสมัยแห่งความหลากหลายทางชนชาติ เพราะไม่ว่าจะมองไปที่ไหนก็มีผู้คนจากทั่วสารทิศเข้ามาทำการค้าขายมากมายในพื้นที่แห่งนี้ จนปรากฏหลักฐานใ...
แผนที่ อยุธยา

เปิดชีวิต “พระเจ้าอู่ทอง” แท้จริงคือเจ้าชายจากเมืองจีน?

แม้เราจะทราบว่า “พระเจ้าอู่ทอง” เป็นปฐมกษัตริย์แห่ง อยุธยา แต่สิ่งที่ยังคงเป็นคำถาม คือ พระราชประวัติแต่เดิมของพระองค์เป็นใครกันแน่… อีกหนึ่งหลักฐา...
สมบัติ ลพบุรี

“สมบัติ” ในไหฝังดินของเจ้าพระยาวิไชเยนทร์ (ฟอลคอน) โบราณวัตถุอายุกว่า 300 ปี...

"สมบัติ" ของ "เจ้าพระยาวิไชเยนทร์" (คอนสแตนติน ฟอลคอน) ถูกฝังอยู่ที่ "ลพบุรี" นานหลายร้อยปี จนเมื่อมีคนมาขุดพบ และนำไปขายทอดตลาด แต่สมบัติบางส่วนตกมาถ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น