เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 17 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สามก๊ก

แท็ก: สามก๊ก

(ซ้าย) นางเอียนสี ในสามก๊ก แม่หม้ายที่โจผี แต่งเป็นภรรยาเอก (กลาง) โจผี (ขวา) โจสิด

หญิงบริสุทธิ์ไม่ใช่ประเด็นสำคัญ แม่หม้ายแต่งงานใหม่เป็น เรื่องปกติสมัยสามก๊ก

หลังจาก “กำฮูหยิน” ผู้เป็นภรรยาเอกเสียชีวิตลง เล่าปี่ได้ “ซุ่นซ่างเซียง” น้องสาวซุนกวนมาเป็นฮูหยิน (ภรรยาเอก) ภายหลังซุนกวนรับซุนฮูหยินกลับกังตั๋ง ตำแ...

หลังศึกผาแดง กวนอูปล่อยโจโฉด้วยคุณธรรมจริงหรือเปล่า?

ในวรรณกรรม “สามก๊ก” กวนอู คือตัวละครที่ได้รับการยกย่องสูงสุด เรื่องความซื่อสัตย์ โดยมีเหตุการณ์หลายตอนในเรื่องเป็นเครื่องพิสูจน์คุณธรรมอันมั่นคงของกวน...

เล่าปี่ ตีง่อก๊กของซุนกวน เพื่อแก้แค้นให้กวนอู หรือช่วงชิงเก็งจิ๋ว กันแน่ !!

พงศาวดารสามก๊กจี่ ภาคจ๊กก๊ก บทประวัติกวนอู บันทึกไว้ว่า “กวนอู มีชื่อรองว่าหุนเตี๋ยง (อวิ๋นฉาง) เดิมชื่อรองว่าฉางเซิง เป็นคนอำเภอไก (เจี่ย) ภาคฮอตั๋ง ...

“ขงเบ้ง” ดีดพิณสยบ “สุมาอี้” เฟคนิวส์กลเมืองร้างในสามก๊ก...

ในนิยายสามก๊กมีเรื่องขงเบ้งใช้ “กลเมืองร้าง” ดีดพิณวุยก๊กถอยทัพ กลเมืองร้างนี้มีที่มาจริง เรื่องปรากฏในพงศาวดารสามก๊กจี่ ภาคจ๊กก๊ก บทประวัติขงเบ้ง ซึ่...

ธุรกิจสิ่งพิมพ์สมัยราชวงศ์หมิงใช้อะไร? เมื่อไม่มีคอมพิวเตอร์-เครื่องพิมพ์ดิจิทัล...

ราชวงศ์หมิง (ค.ศ. 1368-1644) หรือประมาณ 650 ปีก่อน ยุคที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ ไม่มีโปรแกรมกราฟิกสำหรับจัดหน้า ไม่มีเครื่องพิมพ์ดิจิตอล 4 สี่ ไม่มี... ฯลฯ ...

อวสานก๊กของเล่าปี่ สุมาเจียวจัด 3 ทัพบุก

อวสานจ๊กก๊กของเล่าปี่ เมื่อสุมาเจียวจัดทัพบุก 3 ทาง เล่าเสี้ยนยอมจำนน พระเจ้าเล่าเสี้ยน บุตรคนโตของเล่าปี่ และนางกำฮูหยิน มีชื่อเรียกเดิมว่า “อาเต...

แซ่ฉั่ว (ไช่) หนึ่งในตระกูลใหญ่และเก่าแก่ของจีน

แซ่ฉั่ว (蔡) อ่านตามสำเนียงแต้จิ้ว สำเนียงจีนกลางอ่านว่า "ไช่" เป็นแซ่ใหญ่ที่มีประวัติยาวนานมากแซ่หนึ่ง และจัดเป็นตระกูลใหญ่ของจีนในสมัยโบราณ แซ่ไช่...

บรรพชนเอี้ยวสิ้ว ปฏิเสธรับสินบนว่า ฟ้ารู้ ดินรู้ เจ้ารู้ เรารู้ ไยกล่าวว่าไม่มีใ...

แม้เราท่านจะไม่เคยรับสินบน ใต้โต๊ะบนโต๊ะกับใคร แต่ในซีรีส์, หนังสือ ฯลฯ การจ่ายสินน้ำใจในทางไม่ค่อยถูกต้องเหล่านี้ ผู้มอบมักพูดเสมอว่า “ไม่มีใครรู้” ห...

ขงเบ้ง “จับแล้วปล่อยเบ้งเฮ็ก 7 ครั้ง” เรื่องแต่งหรือเรื่องจริงในประวัติศาสตร์?

ใครๆ ก็รู้ว่าวรรณกรรมจีนที่เป็นที่แพร่หลายอย่าง “สามก๊ก” นั้น เนื้อเรื่องผสมกันระหว่างข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์กับเนื้อเรื่องชูรสเพื่อความบันเทิง แบ...

เตียวหุย นายทหารเจ้าโทโส โมโหร้าย ที่นำภัยมาถึงตัว

บทบรรยายแรกที่เปิดตัว “เตียวหุย” ในสามก๊กว่า “ชายสูงประมาณ 5 ศอก ศีรษะเหมือนเสือ จักษุกลมใหญ่ คางพองโต เสียงดังฟ้าร้อง กิริยาดังม้าควบ” เป็นภาพลักษณ์ท...

อะแซหวุ่นกี้ ขอดูตัวเจ้าพระยาจักรี ฤาสะท้อนอิทธิพลสามก๊กในการเล่าพงศาวดาร?

“เวลาเมื่อพม่ากำลังตั้งค่ายล้อมเมืองนั้น อะแซหวุ่นกี้ยกพลเลียบค่ายไปเที่ยวตรวจชัยภูมิทุก ๆ วันเจ้าพระยาสุรสีห์คุมพลออกโจมตี สู้พม่าไม่ได้ต้องถอยมา เจ้...

โจชง อัจฉริยะผู้คิดวิธีชั่งช้าง ลูกที่โจโฉรักที่สุด แม้ตายแล้วยังจัดงานแต่งให้

โจชง เป็นลูกชายที่โจโฉ รักที่สุด, ให้ความสำคัญมากที่สุด, คาดหวังมากที่สุด ในบรรดาลูกชายที่มีทั้งหมด 25 คน โจชงมีคุณสมบัติถึงพร้อมในทุกด้าน คือปัญญาดี,...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น