เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สงครามโลกครั้งที่ 2

แท็ก: สงครามโลกครั้งที่ 2

วินสตัน เชอร์ชิล

24 มกราคม 1965 : วันอสัญกรรม “วินสตัน เชอร์ชิล”

วินสตัน เชอร์ชิล นายกรัฐมนตรีของอังกฤษในช่วงหัวเลี้ยวหัวต่อครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์อังกฤษช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดเมื่อ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1874 เป็...
ยกพลขึ้นบก นอร์มังดี สงครามโลกครั้งที่ 2

ข้อเท็จจริงที่ทำให้ไทย “ไม่แพ้” ใน “สงครามโลกครั้งที่ 2” ไม่ใช่เพราะไทย เพราะนโย...

ข้อเท็จจริงที่ไทย “ไม่แพ้” ใน “สงครามโลกครั้งที่ 2” ไม่ใช่เพราะเสรีไทยช่วยสัมพันธมิตร, “หม่อมเสนีย์” ไม่ยื่นประกาศสงคราม, ผู้สำเร็จราชการฯ ลงชื่อไม่คร...

ชีวิตคนไทยช่วง สงครามโลกครั้งที่ 2 ใช้ถ่านหุงข้าวให้รถวิ่งแทนน้ำมัน-โจรอาละวาดหน...

เมื่อบ้านเมืองอยู่ในภาวะสงครามอย่างเช่นห้วง สงครามโลกครั้งที่ 2 หลายสิ่งหลายอย่างที่เคยสะดวกสบายจะเกิดขัดข้องไปหมด เช่น การคมนาคม อาหารการกิน เสื้อผ้า...
เกล ฮาลวอร์เซน นักบินสหรัฐ ดร็อปช็อกโกแลต เบอร์ลิน เยอรมนี สหรัฐอเมริกา

นักบินผู้ดร็อป “ช็อกโกแลต” ในเยอรมนี แทนที่ทิ้งระเบิด ห้วงควันหลง “สงครามโลกครั้...

ภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดวิกฤตตึงเครียดในฝั่งตะวันตกที่เรียกกันว่า "สงครามเย็น" โดยเฉพาะใน "เยอรมนี" ซึ่งเป็นสงครามระหว่าง 2 โลก นำโดย สหรัฐอเมร...
ออปเพนไฮเมอร์ บิดาแห่งระเบิดปรมาณู

“ออปเพนไฮเมอร์” บิดาแห่งระเบิดปรมาณู ผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์

ออปเพนไฮเมอร์ บิดาแห่งระเบิดปรมาณู ผู้สร้างอาวุธทำลายล้าง จนทำให้สหรัฐอเมริกาเอาชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาจึงกลายเป็นวีรบุรุษของชาติในฐานะผู้คิดค้นอาว...
มาโมรุ ชิเงมิตซึ รัฐมนตรี กระทรวงการต่างประเทศ ญี่ปุ่น ผู้แทน สถาบันจักรพรรดิ ของญี่ปุ่น ลงนาม ใน เอกสารยอมจำนน ในนามของ พระจักรพรรดิ บน เรือรบมิสซูรี ของ สหรัฐอเมริกา 2 กันยายน 1945

ทำไมสหรัฐฯ ไม่ล้ม “สถาบันจักรพรรดิ” ของญี่ปุ่น หลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่ 2...

สงสัย! ทำไม สหรัฐอเมริกา ไม่ล้ม "สถาบันจักรพรรดิ" ญี่ปุ่น หลังสิ้นสุด สงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นภายใต้การยึดครองของสหรัฐอเมริกา : การดำรงอยู่ของ สถา...
Monuments Man หน่วยพิทักษ์อนุสรณ์สถาน

Monuments Men กับการทวงคืนมรดกโลกทางศิลปะจากปีศาจนาซี

ภารกิจกอบกู้สมบัติมรดกโลกจากนาซี ระหว่างปี 1943-1945 โดย “Monuments Men” หรือ หน่วยพิทักษ์อนุสรณ์สถาน ถือเป็นหนึ่งในเรื่องราวความกล้าหาญและการเสียสละท...
โตโจ ฮิเดกิ

23 ธันวาคม 1948 : โตโจ ฮิเดกิ อดีตนายกฯ ญี่ปุ่นถูกประหาร ในฐานะอาชญากรสงคราม

23 ธันวาคม 1948 : โตโจ ฮิเดกิ อดีตนายกฯ ญี่ปุ่นถูกประหาร ในฐานะอาชญากรสงคราม โตโจ ฮิเดกิ (Tojo Hideki) คือนักการทหารและนักบริหารที่มีความสามารถเป็นที...
เชลยศึกฝ่ายสัมพันธมิตร สงครามโลกครั้งที่ 2 เช่น เชลยศึกชาวออสเตรเลีย เชลยศึกชาวดัตช์ ใน ค่ายญี่ปุ่น รัฐในอารักขา

ไทยเกือบต้องเป็น “รัฐในอารักขา” ของอังกฤษ หลังแพ้สงครามโลกครั้งที่ 2

เมื่อญี่ปุ่นยอมแพ้กองทัพสัมพันธมิตร (14 สิงหาคม พ.ศ. 2488) ไทย ก็อยู่ในฝ่ายผู้แพ้เช่นกัน และเกือบต้องเป็น “รัฐในอารักขา” ของ อังกฤษ  หลังรัฐบาลญี่ป...
ทหารญี่ปุ่น สงครามโลกครั้งที่ 2

“วิกฤตการณ์บ้านโป่ง” ทหารญี่ปุ่นตบหน้าพระไทย ช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา...

"วิกฤตการณ์บ้านโป่ง" ทหารญี่ปุ่น ตบหน้า พระเพิ่ม สิริพิบูล ช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา ลุกลามบานปลายจนมีผู้เสียชีวิต สงครามมหาเอเชียบูรพา "ทหารญี่ปุ่น...

Don’t Cry Nanking 1937 อนุสรณ์แห่งความขมขื่น การสังหารหมู่แห่งนานกิง

การสังหารหมู่แห่งนานกิง บทเรียนประวัติศาสตร์อันแสนขมขื่น “อดีตไม่ลืม เป็นบทเรียนแห่งอนาคต” วลีอมตะของอดีตนายกรัฐมนตรีโจวเอินหลาย แห่งสาธารณรัฐประชาช...
การสังหารหมู่แห่งนานกิง ซากศพ ใน กรุงนานกิง

13 ธันวาคม 1937 จุดเริ่มต้นการสังหารหมู่แห่งนานกิง เสียชีวิตไม่ต่ำกว่าแสนราย

13 ธันวาคม 1937 จุดเริ่มต้น การสังหารหมู่แห่งนานกิง เสียชีวิตไม่ต่ำกว่าแสนราย สงครามจีน-ญี่ปุ่นครั้งที่ 2 เริ่มขึ้นอย่างเต็มรูปแบบเมื่อวันที่ 7 กรกฎา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น