เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภูมิศาสตร์

แท็ก: ภูมิศาสตร์

ประตูเมือง เมืองเชียงใหม่

นครเชียงใหม่โบราณไม่ได้มีเฉพาะแค่เวียงในคูเมืองเท่านั้น!

เมื่อพูดถึง “นครเชียงใหม่โบราณ” ในการรับรู้ของคนยุคปัจจุบันมักเข้าใจกันว่า เมืองโบราณนี้อยู่ในเขตรอบคูเมืองที่มีรูปทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัส หรือหากย้อนไปเ...
ทวารวดี

“ทวารวดี” คืออะไรกันแน่ ได้คำตอบหรือยังว่าที่จริงคืออะไร?

“ทวารวดี” คืออะไรกันแน่? เป็นชื่อ ราชวงศ์ ไหม เกี่ยวอะไรกับดินแดน “ไทย” รศ.ดร.รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง จากภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาว...
กรีนแลนด์-ไอซ์แลนด์

“กรีนแลนด์” ไม่ค่อยเขียว “ไอซ์แลนด์” ไม่เย็นสมใจ เปิดที่มาชื่อดินแดนแสนสับสน

กรีนแลนด์-ไอซ์แลนด์ ที่มาชื่อดินแดนแสนสับสน “กรีนแลนด์” ถูกปกคลุมด้วยน้ำแข็งและหิมะขาวโพลนสุดลูกหูลูกตา แต่หาได้ “กรีน” สมชื่อไม่ ขณะที่ “ไอซ์แลนด์...
วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ ริมแม่น้ำน่าน เมือง พิษณุโลก สองแคว

ทำไมต้องเรียก “พิษณุโลก” ว่า “สองแคว” ?

“พิษณุโลก” เป็นเมืองที่มีความสำคัญในหน้าประวัติศาสตร์ไทยมาอย่างยาวนาน หลายคนรู้จักชื่อเมืองนี้ในอีกนามหนึ่งว่า “สองแคว” แล้วเหตุใดถึงได้เรียกเช่นนี้ ?...
แผนที่ ภูมิภาค ตะวันออกกลาง

เปิดที่มาชื่อ “ตะวันออกกลาง” เหตุใดถึงเรียกเช่นนี้?

ภูมิภาค “ตะวันออกกลาง” เป็นศูนย์กลางระหว่างโลกตะวันตกกับตะวันออก จึงทำให้หลายคนคุ้นชินและเรียกรวม ๆ ประเทศแถบนี้ เช่น อิสราเอล บาห์เรน เยเมน ดินเเดนปา...
ไต้ฝุ่น

เปิดข้อสันนิษฐาน “ไต้ฝุ่น” คำนี้มาจากหลายที่ทั่วโลก?

ไต้ฝุ่น คำนี้มาจากหลาย "ภาษา" ทั่วโลก? ไต้ฝุ่นจากความหมายที่ราชบัณฑิตยภาบัญญัติไว้ หมายถึง ชื่อพายุหมุนเขตร้อนที่เกิดในบริเวณเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกท...
ภูมิศาสตร์ ราชวงศ์คองบอง พม่า

“ภูมิศาสตร์” พลังขับเคลื่อนเครื่องจักรสงครามของราชวงศ์คองบอง

ความแข็งแกร่งของราชวงศ์คองบองประกอบขึ้นจากหลายเหตุปัจจัย ที่สำคัญประการหนึ่งที่ไม่ควรมองข้ามคือปัจจัยด้าน "ภูมิศาสตร์" จากความสำเร็จในการผนวกพื้นที่ภู...

เอกสารโบราณน่าเชื่อฟัง หรือเหลวไหลสิ้นดี?

ความนำ ในหอสมุดแห่งชาติมีหนังสือ "ไตรภูมิ" สองฉบับ สมุดข่อยที่มีแผนที่โลกตามที่คนชาวสยามสมัยก่อนรู้จัก, มองเห็น, และเข้าใจ เล่มหนึ่ง (เลขที่ 10/ก.) ร...

ยุคกรีกโบราณที่เชื่อว่าโลกแบน ไม่มี “เอเชียอาคเนย์” บนแผนที่โลก

ทัศนะของชาวกรีกโบราณที่เชื่อว่า “โลกแบน” โดยมี “อินเดีย” เป็นดินแดนที่เป็นสุดขอบโลกทางด้านตะวันออก ถัดจากนั้นก็เป็นมหาสมุทรที่ล้อมแผ่นดิน เอกสารยุคแรก...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น