เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 20 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ปราสาทนครวัด

แท็ก: ปราสาทนครวัด

ปราสาทนครวัด นครวัด กัมพูชา เขมร สมัย พระนคร

เหตุใด อ็องรี มูโอต์ จึงกลายเป็นผู้ค้นพบปราสาทนครวัด

ชื่อของ อ็องรี มูโอต์ เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในฐานะ “ผู้ค้นพบปราสาทนครวัด” ขณะเดียวกันก็มีการวิพากษ์กันว่า ความคิดนี้เป็นมายาคติ เพราะ “เมืองพระนค...
นครวัด เมืองพระนคร กัมพูชา

“นครวัด” งามเด่นอลังการ ด้วยทรัพยากรจากลุ่มแม่น้ำมูล ในภาคอีสาน?

“นครวัด” หรือ อังกอร์วัด จุดสูงสุดของสถาปัตยกรรมเนื่องในวัฒนธรรมลุ่มทะเลสาบเขมร ซึ่งเข้าใจว่าสถาปนาโดย พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2 (บ้างสะกด “สูรยวรรมันที่...
ปราสาทนครวัดจำลอง จำลอง ปราสาทนครวัด สมัย รัชกาลที่ 4 ใน วัดพระแก้ว

ดูแนวคิดรื้อ “นครวัด” และปราสาทขอม สมัยรัชกาลที่ 4 สู่การจำลองนครวัด ตั้งที่วัดพ...

ดูแนวคิดรื้อ "นครวัด" และปราสาทขอม สมัย รัชกาลที่ 4 แต่ล้มเหลว สู่กำเนิด "ปราสาทนครวัดจำลอง" ตั้งที่ วัดพระแก้ว "พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกา...
ภาพถ่าย นครวัด หรือ พระบรมวิษณุโลก เมื่อ ค.ศ. 1866 โดย Emile Gsell

ปราสาท “บรมวิษณุโลก” เปลี่ยนมาเป็น “นครวัด” เมื่อใด ทำไม?

แม้ชื่อดั้งเดิมของศาสนสถานอันยิ่งใหญ่แห่งวัฒนธรรมลุ่มน้ำโตนเลสาบอย่างนครวัด นั่นคือ “พระบรมวิษณุโลก” ตามพระนามหลังการเสด็จสวรรคตของพระเจ้าสุริยวรมันที...
ปราสาทนครวัด นครวัด กัมพูชา เขมร สมัย พระนคร สร้างโดย พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2

เรารู้ได้ไงว่า “พระเจ้าสุริยวรมันที่ 2” เป็นผู้สถาปนา “นครวัด” ทั้งที่ไม่มีจารึก...

ปราสาทนครวัด ศาสนสถานที่โดดเด่นของเมืองพระนคร ตั้งอยู่นอกกำแพงเมืองพระนครธม ราชธานีของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 แม้ไม่พบจารึกใด ๆ ชี้ไปยังตัวกษัตริย์ผู้สถา...
เสียมกุก ลายเส้น จากภาพสลัก ปราสาทนครวัด

“เสียมกุก” ชาวสยามจากแอ่งสกลนคร ศูนย์กลางที่ “เวียงจันทน์”

“เสียมกุก” คือชาวสยามที่ปรากฏอยู่บนภาพสลักระเบียงประวัติศาสตร์ หรือระเบียงคดของปราสาทนครวัด เป็นข้อความว่า “เนะ สยำ กุก” อันแปลความได้ว่า “นี่(ไง) พวก...
นางอัปสร ปราสาท นครวัด

ทำไมเหล่า “เทพอัปสร” ต้องเปลือยท่อนบน? หรือจะสะท้อนวิถีชีวิตจริง?

ทำไมเหล่า "เทพอัปสร" ต้องเปลือยอก? หรือจะสะท้อนวิถีชีวิตจริง? ปราสาทนครวัดมีภาพสลักหินเป็นรูปเทพธิดา หรือนางฟ้า นางอัปสร จำนวนมาก นักโบราณคดีและนัก...

จิตร ภูมิศักดิ์ ชี้ “นครวัด” เดิมชื่อ “พระพิษณุโลก”

ในหนังสือ "ประวัติศาสตร์สนทนา ตำนานแห่งนครวัด" (พิมพ์ครั้งแรก โดยสำนักพิมพ์ไม้งาม พ.ศ. 2525) จิตร ภูมิศักดิ์ ได้เล่าถึงความเป็นมา รวมถึงชื่อดั้งเดิมที...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น