เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 23 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก คลอง

แท็ก: คลอง

คลอง แสนแสบ คลองแสนแสบ

คลอง “แสนแสบ” ชื่อนี้มาจากไหน หรือจะมาจากยุง?

“คลองแสนแสบ” เมื่อคนส่วนใหญ่ได้ยินชื่อนี้ ก็จะนึกถึงนวนิยายชื่อดังของไม้ เมืองเดิม อย่างเรื่อง “แผลเก่า” หรือบทเพลงอมตะของชาลี อินทรวิจิตร ที่ชื่อเพลง...
คลองสำโรง

คลองสำโรง อดีตคลองยุทธศาสตร์ เส้นทางการเดินทัพไปกัมพูชา

คลองสำโรง เป็นคลองเก่าแก่ มีอายุ 500 กว่าปีขึ้น ด้วยปรากฏความใน พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ว่า ครั้งถึงรัชกาลสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธย...
แผนที่ แผนภูมิ คอคอดกระ นายเอดลองก์ วิศวกร ชาวฝรั่งเศส

ความพยายามเสนอโครงการขุด “คอคอดกระ” อย่างจริงจังครั้งแรก สมัยรัชกาลที่ 4

ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ (ประมาณรัชกาลที่ 3) ความคิดเรื่องขุด “คอคอดกระ” เกิดเป็นกระแสขึ้น เริ่มจากชาวอังกฤษก่อน โดยนักสำรวจชาวอังกฤษ หลายคนของบริษัทอินเดี...
แผนที่ คลองกระ คอคอดกระ ทีมทำแผนที่ ชาวฝรั่งเศส โครงการขุดคอคอดกระ

พบแล้ว! ตัวการผู้ทำให้ไทยยกเลิก “โครงการขุดคอคอดกระ” ในสมัยรัชกาลที่ 5

กัปตันลอฟตัส ตัวการผู้ทำให้ไทยยกเลิก “โครงการขุดคอคอดกระ” ในสมัยรัชกาลที่ 5 แผนการขุด “คลองกระ” ที่เริ่มต้นในสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นเรื่องล่อแหลมด้านค...
นายเดอ เลสเซป ผู้อำนวยการ ขุดคลองสุเอซ

“คลองกระ” (คอคอดกระ) เรื่องล่อแหลมด้านความมั่นคงสมัย ร.4 ไฉนเปลี่ยนใจสมัย ร.5

ความคิดเรื่องการขุด “คลองกระ” หรือบริเวณ คอคอดกระ เป็นกระแสมาตั้งแต่รัชกาลที่ 3 แล้ว ก่อนจะจริงจังมากขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4 ชาติมหาอำนาจอย่างอังกฤษผลัก...
คลอง เขต ลาดกระบัง คลองลาดกระบัง

เปิดความหมายและความเป็นมา “เขตลาดกระบัง”

นามเขต “ลาดกระบัง” เป็นนามเดียวกับ คลองลาดกระบัง ที่ไหลผ่าน ปัจจุบันคลองลาดกระบังเริ่มจากคลองประเวศบุรีรมย์ไปจนถึงในพื้นที่เขตสิ้นสุดเขตกรุงเทพฯ มีควา...

“กรุงเทพฯ ยศล่มแล้ว ลอยนรก ลงฤๅ” – ศรีศักร วัลลิโภดม

21 เมษายน พ.ศ. 2325 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ 1) โปรดเกล้าฯ ให้ทำพิธีวางเสาหลักเมืองกรุงเทพฯ จึงถือเป็นวันเกิดของนคร “เทพสร้าง...

จุดประสงค์การขุด “คลอง” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่แปรเปลี่ยนไปตามยุคสมัย อย่างไร?...

ในบทความเรื่อง คลองกับระบบเศรษฐกิจของไทย พ.ศ. 2367-2453 ของ กิตติ ตันไทย ได้อธิบายถึงการขุดคลองในเมืองไทยในอดีตว่ามีวัตถุประสงค์แท้จริงเพื่ออะไร รวมทั...

ตามรอย “สะพานช้าง-คลองประตูข้าวเปลือก” ฉากหลังครั้งสงครามกลางเมืองอยุธยา...

คลองประตูข้าวเปลือก หรือคลองประตูจีน เป็นคลองในเกาะเมืองศรีอยุธยา วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ โดยทางทิศเหนือเชื่อมต่อกับแม่น้ำลพบุรี เรียกคลองประตูข้าวเปลือก...

พลิกปม “เกาะ” ในคลองมหานาค หน้าวัดสระเกศ กว่าร้อยปีก่อน แต่ปัจจุบันไม่มีแล้ว?...

ภาพจากหอจดหมายเหตุแห่งชาติ รหัส ภ. 002 หวญ 39-20 อยู่ในชุดภาพถ่ายจากภูเขาทอง วัดสระเกศ ไม่มีรายละเอียด และไม่ทราบชื่อช่างภาพ แลเห็นคลองสายหนึ่งไม่กว้...

เรื่องขบขัน เมื่อกรมโยธาฯ สมัยจอมพล ป. จัดงานลอยกระทง ที่คลองคูเมืองเดิม

เรื่องขบขันการจัดงาน ลอยกระทง ที่คลองคูเมืองเดิม สมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เป็นเรื่องเล่าของ พลโท บุศรินทร์ ภักดีกุล หนึ่งในเรื่อง "ความไม่รอบคอบ...

ต้นคลองปลายคลองของ มหานาค-บางกะปิ-แสนแสบ อยู่ที่ไหน

คลองมหานาค อยุธยา คลองมหานาคในเมืองไทยมี 2 แห่งคือที่อยุธยา กับที่กรุงเทพฯ ที่กรุงเทพฯ นั้นขุดสมัย ร.1 พ.ศ. 2326 ขุดแล้วตั้งชื่อเลียนแบบทางอยุธยา ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น