แท็ก: สุโขทัย
ลอยกระทง เกิดขึ้นในสมัยสุโขทัยจริงหรือ?
ลอยกระทง เป็นประเพณีที่มีมาแต่โบราณ โดยจะตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำเดือน 12 ของทุกปี แต่อีกด้านก็เป็นประเด็นที่มีข้อถกเถียงกันมายาวนานว่า ประเพณีนี้มีจุดเริ...
สุโขทัย ไม่ใช่ราชธานีแห่งแรก แต่เป็นรัฐเล็กๆ จากชุมชน 2,000 ปี
สุโขทัย ไม่ใช่ราชธานีแห่งแรก เพราะขณะนั้นมีรัฐพูดภาษาไต-ไท (ไทย) กระจายทั่วไป ได้แก่ โยนก, หลวงพระบาง, น่าน, สุพรรณภูมิ, เพชรบุรี, นครศรีธรรมราช
แต...
เปิดหลักฐานการค้นพบ “ส้วม” เก่าที่สุดในไทย เป็นส้วมแบบไหน?
การทำธุระหนักหรือเบาในอดีต คนไทยมักใช้สถานที่ตามธรรมชาติ เช่นตามชายป่า ชายทุ่ง มีข้อมูลพบว่าในสมัยรัชกาลที่ 5 บางบ้านอยู่ใกล้แม่น้ำลําคลอง หัวหน้าครอบ...
“อโยธยา” ในเอกสารและตำนานเก่าแก่ อยู่ร่วมสมัยกับ “สุโขทัย-ล้านนา”
“อโยธยา” เมืองต้นกำเนิด กรุงศรีอยุธยา อาจเก่าแก่ร่วมสมัยกับ “สุโขทัย” และ “ล้านนา” ดังปรากฏการเอ่ยถึงในเอกสารและตำนานโบราณต่าง ๆ มากมาย
“อโยธยา” ร่วม...
มติชน อคาเดมี พาตามรอยประวัติศาสตร์ “บางขลัง” ยังไม่สิ้นกลิ่นมนต์ขลัง จ. สุโขทั...
จบลงไปอย่างอิ่มสุขพร้อมได้เรียนรู้ประวัติศาสตร์ สำหรับทริป “บางขลัง” ยังไม่สิ้นกลิ่นมนต์ขลัง จ. สุโขทัย ที่ มติชน อคาเดมี จัดขึ้น 2 วัน 1 คืน โดยได้รั...
2 กันยายน 2546 ไทยประกาศ ยูเนสโกยก “จารึกพ่อขุนรามฯ” เป็นมรดกความทรงจำของโลก
กระทรวงศึกษาธิการได้ออกแถลงการณ์ลงวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2546 ประกาศว่า คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประช...
“พญามังราย” ไม่ใช่ “พ่อขุนเม็งราย”
พระนามของกษัตริย์ผู้ก่อตั้งอาณาจักรล้านนา มักถูกเรียกว่า “พ่อขุนเม็งราย” โดยอ้างอิงจากพระนามที่ปรากฏในพงศาวดารโยนก ที่พระยาประชากิจกรจักร์ (แช่ม บุนนา...
“พ่อขุน” ไม่เคยใช้เรียกกษัตริย์ที่ครองราชย์อยู่ “รามคำแหง” พระนามที่ชวนฉงน ?!?
คำว่า “พ่อขุน” มีใช้อยู่ในจารึกสุโขทัยเพียงสองหลักเท่านั้น คือ หลักที่ 1 และหลักที่ 2 และไม่ปรากฏที่ใช้ในเอกสารเก่าของไทยอีกเลย
“พ่อขุน” มีคำแปลของ...
กบฏขรัวผู้วิเศษวัดพระปรางค์ กบฏผู้มีบุญ แห่งเมืองสวรรคโลก ที่ถูกลืม
กบฏขรัวผู้วิเศษวัดพระปรางค์ เมืองสวรรคโลก มีศูนย์กลางความเคลื่อนไหวอยู่บริเวณใกล้กับพระธาตุมุเตา ภายในบริเวณวัดพระศรีรัตนมหาธาตุเชลียง หรือวัดพระศรีรั...
รู้จัก “เงินพดด้วง” เงินตราสะท้อนความเฟื่องฟูทางเศรษฐกิจและการค้าสมัยสุโขทัย...
เงินพดด้วง เป็นเงินตราสำหรับแลกเปลี่ยนซื้อขายในอดีต ด้วยมีลักษณะเป็นก้อนกลม จึงเรียกว่า "เงินกลม" แต่ด้วยลักษณะปลายขาเงินที่งอและสั้น ขดกลมคล้ายตัวด้ว...
วิถีชีวิตคนสุโขทัยเมื่อกาลก่อน จากศิลาจารึก และเรื่องสำเนียงภาษาที่ผิดธรรมดา
วิถีชีวิตคนสุโขทัย ตั้งแต่สมัยพ่อขุนรามคําแหงเป็นพระมหากษัตริย์ จะเห็นได้จากหลักศิลาจารึกว่าเป็นชีวิตที่เรียบง่าย มีอิสรเสรีในการดํารงชีวิต เช่น ใครใค...
ทำไมคนไทยมีชื่อเล่น? รำลึกเจน-นุ่น-โบว์ และไอเดียรัฐ เคยรณรงค์ตั้ง “ชื่อเล่น” เป...
ทำไมคนไทยมีชื่อเล่น? รำลึก เจน-นุ่น-โบว์ และไอเดียรัฐ เคยรณรงค์ตั้ง "ชื่อเล่น" เป็นคำไทย
ในที่นี้ต้องบันทึกไว้ว่าชื่อเล่นซึ่งโด่งดังสุดในช่วงปลายเด...