เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก วรรณกรรม

แท็ก: วรรณกรรม

“เผด็จการย่อมหาเหตุแห่งการเผด็จอำนาจได้เสมอ” วลีอมตะจาก “อีสป”

“เผด็จการย่อมหาเหตุแห่งการเผด็จอำนาจได้เสมอ” -อีสป บุคคลในตำนานที่เชื่อกันว่าเป็นทาสและนักเล่านิทานชาวกรีกโบราณ ได้กล่าวไว้ในนิทานเรื่อง “หมาป่ากับ...

“เมืองใดไม่มีกวีแก้ว เมืองนั้นไม่แคล้วคนหยาม” ความเข้าใจผิดเรื่องพระราชนิพนธ์ในร...

ในหนังสือแบบเรียนภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีการสอนเรื่องการเขียนเชิงวิชาการ ซึ่งต้องมีระบบอ้างอิงเอกสารที่นำมาใช้ประกอบการเขียน โดยนิยมทำกันในสองล...

นักแสดง Lord of the Rings หนุนทุนซื้อบ้านที่ JRR Tolkien เคยพักตอนเขียนนิยายกลับ...

J.R.R. Tolkien นักเขียนชื่อดังเจ้าของผลงานนิยายอันลือลั่นอย่าง The Lord of the Rings ใช้เวลาขณะอาศัยในบ้านพักแถบอ็อกซ์ฟอร์ด (Oxford) ในประเทศอังกฤษ สร...

100 ปีหน้ากากซอร์โร วีรบุรุษผ้าคลุมยุคแรกที่ทำให้เกิดแบทแมน Zorro มีต้นตอจากไหน

ยากจะปฏิเสธได้ว่าตลอดทศวรรษที่ผ่านมาสื่อบันเทิงกระแสหลักในยุคสมัยใหม่เป็นยุคของซูเปอร์ฮีโร่อย่างแท้จริง แต่หากย้อนกลับไปเมื่อ 100 ปีก่อน วีรบุรุษใต้หน...

การต่อสู้ของ “วิกตอร์ อูโก” ผู้เขียน Les Misérables เรียกร้องเลิกโทษประหารด้วยนิ...

ก่อนหน้าที่สังคมโลกจะมีข้อถกเถียงเรื่องโทษประหารในรอบทศวรรษที่ผ่านมา ย้อนไปก่อนหน้านั้นหลายร้อยปี “วิกตอร์ อูโก” (Victor Hugo) นักกวี-นักเขียน และนักก...

หรือว่า “นางนพมาศ” จะเป็นวรรณกรรมหลงยุคแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ?

เป็นที่เชื่อกันในวงกว้างว่าวรรณคดีเรื่อง นางนพมาศ นั้นถูกแต่งในสมัยสุโขทัย เนื่องมาจากกรมศิลปากรเป็นผู้จัดหนังสือเรื่องนางนพมาศไว้ในสมัยสุโขทัย แต่ในป...

ค้นตัวตน “มู่หลาน” จากประวัติศาสตร์จีน สู่สื่อบันเทิงยุคใหม่ในตะวันตก...

ฮัว มู่หลาน หรือ ฮวา มู่หลาน (Hua Mulan) เป็นอีกหนึ่งตำนานสตรีจีนที่โด่งดังไปทั่วโลก และถูกแปรรูปเป็นสื่อบันเทิงทั้งจากในจีนและในตะวันตกเอง แต่ต้นตอที...

เจดีย์ยุทธหัตถีมีจริงหรือ?

เรื่องเจดีย์ยุทธหัตถีอยู่ที่ไหน เคยเป็นปัญหาถกเถียงกันมากตามหน้าหนังสือพิมพ์ และระหว่างสมาคมท้องถิ่นที่เกี่ยวข้องกับสถานที่อันเป็นที่ตั้งของเจดีย์มาแล...

ทำไม “เกลื้อน” ในมุมชาวใต้ยุคก่อนคือความงาม ยกโฉมสะคราญ “แม่แก้มเกลื้อน”...

ปัจจุบันพอพูดถึงเกลื้อนแล้ว ย่อมเป็นที่สะอิดสะเอียนไม่มีผู้ใดอยากเป็น เพราะเกลื้อนเป็นโรคผิวหนังชนิดหนึ่ง ใครเป็นแล้วเสน่ห์บุคลิกย่อมลดน้อยลง ยิ่งหนุ่...

17 ม.ค. รำลึก “ดอกไม้สด” ตำนานนักเขียนไทย ต้นแบบเขียนนวนิยายสัจนิยมกึ่งพาฝัน

ย้อนกลับไปเมื่อในปีพ.ศ. 2506 วงการวรรณกรรมไทยได้สูญเสียหม่อมหลวงบุปผา นิมมานเหมินห์ นักเขียนอันดับต้นๆ ของประเทศ จากอาการหัวใจวาย ที่บ้านพักสถานเอกอัค...

30 กรกฎาคม พ.ศ. 2484: วันเกิด ณรงค์ จันทร์เรือง

“30 กรกฎาคม พ.ศ. 2484 วันเกิด ณรงค์ จันทร์เรือง นักเขียนผู้ได้ชื่อว่ามีความสามารถในการเขียนอย่างรอบด้านคนหนึ่ง ไม่ว่าจะเป็นเรื่องสั้น เรื่องยาว หรือสา...

14 กรกฎาคม พ.ศ. 2466: วันเกิด สุวัฒน์ วรดิลก

“14 กรกฎาคม พ.ศ. 2466 วันเกิด สุวัฒน์ วรดิลก ศิลปินแห่งชาติ เจ้าของนามปากกา ‘รพีพร’ และอื่นๆ เขาเริ่มสร้างชื่อจากเรื่องสั้น คือ ‘ตราบใดสุรีย์ส่องโลก’ ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น