เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ล้านนา

แท็ก: ล้านนา

“ระบบการศึกษา” เครื่องมือผนวก “ล้านนา” ให้กลายเป็นไทยในสมัยรัชกาลที่ 6...

ต้นพุทธศตวรรษที่ 25 ในสยามกำเนิดรัฐแบบใหม่ที่บริหารงานแบบรวมศูนย์ ทำให้จำเป็นต้องสลายอำนาจท้องถิ่นเพื่อดึงทรัพยากรและผู้คนมาเป็นของรัฐบาลส่วนกลาง สำหร...

สยามรุกคืบล้านนา ใช้กลวิธีเฉกเช่นนักล่าอาณานิคมชาวตะวันตกในการผนวกล้านนา

เมื่อแนวคิดจักรวรรดินิยมจากนักล่าอาณานิคมเข้าสู่ดินแดนแถบนี้ ผลักดันให้ชนชั้นนำสยามเริ่มเปลี่ยนแนวคิดในการปกครองประเทศราชโดยเฉพาะในดินแดนล้านนา โดยได้...

วิบากกรรมการเงินเจ้าลำปาง เจ้าหนี้ถึงกับยึดเครื่องประดับพระยศงานศพเจ้าหลวงไปขัดด...

เมื่อสยามได้เริ่มเข้ามาปกครองล้านนาอย่างจริงจังในสมัยรัชกาลที่ 5 นั่นจึงส่งผลกระทบถึงเจ้านายล้านนาโดยตรง ที่แต่เดิมมีอิสระในการปกครองตนเองในระดับหนึ่ง...
video

“ล้านนา” ใต้อำนาจการเมืองพม่ากับสยาม สภาพเศรษฐกิจ-การค้า ต่างกันอย่างไร? (คลิป)...

ล้านนา ในอดีตมีปฏิสัมพันธ์กับทั้งพม่าและสยามแต่ละห้วงเวลาแตกต่างกันออกไป ความสัมพันธ์ทางโครงสร้างอำนาจที่ล้านนาไปเกี่ยวข้องกับทั้งฝ่ายพม่าและฝั่งสยามล...

พระเจ้าพรหมมหาราช ในตำนานล้านนา นัยสำคัญของกษัตริย์สืบสายทางธรรม VS สายเลือด

เรื่องพระเจ้าพรหมมหาราชมีที่มาจากเรื่องราวที่ปรากฏอยู่ในเอกสารโบราณของล้านนา ที่มีชื่อเรียกต่างๆ กัน เมื่อต้นปี 2545 กรมศิลปากรได้รับเรื่องในลักษณะตำน...

เหตุใดชาวไทยเหนือ-อีสาน เรียกครกกระเดื่องว่า “ครกมอง” ?

ในสังคมผู้บริโภคข้าว แต่เดิมมาท่านมีกรรมวิธีกะเทาะเปลือกข้าวให้หลุดล่อนออกเหลือแต่เนื้อเมล็ดข้าว โดยการโขลกหรือตำ เจ้าอุปกรณ์เพื่อการนี้ ภาษาไทยกลางท่...
ภาพถ่าย เจ้าอุตรการโกศล (ศุขเกษม ณ เชียงใหม่) หรือเจ้าน้อยศุขเกษม ถ่ายภาพกับเจ้าบัวชุม ณ เชียงใหม่ ผู้เป็นภรรยา (ภาพจากสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ)

มะละแหม่งไม่มีใครรู้จัก “มะเมียะ” ตำนานรักนี้จริงแท้แค่ไหน หรือเป็นเพียงนิยายอิง...

ในสโมสรศิลปวัฒนธรรมเสวนา หัวข้อ “เบื้องหลังเรื่องรักของมะเมียะ” โดยมีสมฤทธิ์ ลือชัย เป็นวิทยากร และอดิศักดิ์ ศรีสม ดำเนินการเสวนา เมื่อวันพฤหัสบดีที่ ...

ภาษีอากร-สัมปทานป่าไม้ เครื่องมือรวมศูนย์อำนาจในล้านนา สู่กรุงเทพฯ

เดิมทีล้านนามีระบบการจัดเก็บภาษีอากรของตนเองโดยที่สยามไม่เคยเข้าไปควบคุม แต่เมื่อกรุงเทพฯ ส่งข้าหลวงขึ้นไปกํากับราชการที่เมืองเชียงใหม่จําเป็นต้องใช้เ...

รำลึก 20 ปี การจากไปของ “จรัล มโนเพ็ชร” กับเบื้องหลังการแต่งเพลงโฟล์คซองคำเมือง...

3 กันยายน 2564 ครบรอบ 20 ปี การจากไปของ "จรัล มโนเพ็ชร" ราชาโฟล์คซองคำเมือง ผู้ปลุกกระแสเพลงและวัฒนธรรมล้านนาให้เป็นที่เลื่องชื่อไปทั่วประเทศ วานนี...

“เจ้าศรีอโนชา” เจ้าเมืองเหนือเชื่อมสัมพันธ์สองราชวงศ์ วีรสตรีผู้ปราบกบฏพระยาสรรค...

การเชื่อมสัมพันธไมตรีของรัฐในดินแดนเอเชียอาคเนย์ในอดีตนั้น วิธีการหนึ่งคือการสมรสระหว่างสองฝ่าย ในทางหนึ่งเพื่อสร้างพันธมิตรหรืออีกทางหนึ่งก็เป็นการสม...

เมื่อจีนเต็งสร้างคุ้มให้เจ้าหลวงเชียงใหม่ เผยสัมพันธ์เชิงผลประโยชน์ในเจ้าภาษีนาย...

เป็นที่ทราบกันอยู่แล้วว่า ชาวจีนที่อพยพเข้ามาในประเทศไทยเลื่องชื่อในการทำธุรกิจหรือค้าขาย ด้วยเพราะลักษณะนิสัยจำเพาะของชาวจีนที่ขยันขันแข็งและมีหัวด้า...

พิธีทูลพระขวัญและการฟ้อนของเจ้านายฝ่ายเหนือถวายเจ้านายกรุงเทพ

นับตั้งแต่ล้านนาถูกผนวกเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของสยามประเทศ (อย่างไม่เป็นทางการ) ตั้งแต่รัสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 ความสัมพัน...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น