เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 25 มีนาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก ลาลูแบร์

แท็ก: ลาลูแบร์

เป็นผู้หญิง (อยุธยา) แท้จริงแสนลำบาก ต้องทำไร่ไถนา ขายของ เลี้ยงลูก ส่วนชายนั้นข...

"ผู้หญิง" ในยุค "อยุธยา" มีภารกิจหนักหน่วงอย่างยิ่ง เพราะต้องดูแลบ้านเรือน พ่อแม่ พี่น้อง ลูกและผัวด้วยตัวคนเดียว ยิ่งกว่านั้น ยังต้องทำไร่ไถนา บางทีต...

จริงหรือ? ชาวกรุงศรีอยุธยาไม่ชอบต้อนรับอาคันตุกะ เพราะปิดบังว่ามีเมียหลายคน!

บ้านเรือนของชาว กรุงศรีอยุธยา ที่อยู่ในสองฝั่งแม่น้ำเจ้าพระยา ถูกบอกเล่าผ่านบันทึกของ ลาลูแบร์ ราชทูตจากฝรั่งเศส โดยตอนหนึ่งลาลูแบร์เล่าว่า มารยาทการต...

บันทึกลาลูแบร์ เผยเรื่อง “หย่าร้าง” สมัยอยุธยา ชายหญิงสยามไม่ค่อย “หึงหวง”...

เรื่อง หึงหวง ของชาย-หญิงยุคโบราณ สามารถศึกษาได้จากบันทึกชาวต่างชาติ ส่วนการมีครอบครัวสะท้อนผ่านงานเขียนหรือวรรณคดีของไทยเราเองอยู่แล้ว หญิงชาวบ้านในก...

คลายข้อสงสัย คนกรุงศรีอยุธยา “หน้าตา” เป็นอย่างไร?

มีคติโบราณบอกว่า “ไทยเล็ก เจ๊กดำ” คบไม่ได้ แสดงว่าคนไทยทั่วไปไม่ใช่คนตัวเล็ก แต่รูปร่างจะใหญ่ขนาดไหน ? ไม่มีเกณฑ์กำหนดแน่นอน หน้าตาของ คนกรุงศรีอยุธยา...

เรื่องเพศสมัยกรุงเก่า “รับจ้างทําชําเราแก่บุรุษ”

ผู้หญิงกับผู้ชายชาวสยามสมัยโบราณ มีวิถีชีวิตอย่างไร? เป็นเรื่องน่าสนใจ แต่หาหลักฐานยาก เพราะไม่ค่อยมีบันทึก ถึงจะมีก็น้อย เพราะฉะนั้นก็เดาๆ กันไปตา...

บันทึก “ลา ลูแบร์” เผย ชาวสยามผูกคอตายใต้ต้นโพธิ์ ถวายเป็นพุทธบูชา

ลา ลูแบร์ (Simon de La Loubère) ราชทูตฝรั่งเศสที่เดินทางเข้ามายังกรุงศรีอยุธยาในสมัยรัชกาลสมเด็จพระนารายณ์ ได้บันทึกเกี่ยวกับชาวสยามผูกคอตายใต้ต้นโพธิ...

คนไทยดื่ม “กาแฟ” ตั้งแต่เมื่อใด?

ท่านเคยสงสัยหรือไม่ว่า คนไทยเริ่มดื่ม "กาแฟ" กันมาตั้งแต่เมื่อใด? ในที่นี้ต้องเท้าความไปที่ประวัติความเป็นมาของกาแฟกันสักหน่อย กาแฟมีถิ่นกำเนิดบริเ...

ปาลเลกัวซ์-ลา ลูแบร์ ระบุ การนวด-ยืดเส้น แพทย์แผนโบราณใช้รักษาอาการป่วยไข้

การนวด-ยืดเส้น เป็นการรักษาทางการแพทย์โบราณของไทยมาแต่อดีต ซึ่งทั้ง ลา ลูแบร์ ราชทูตฝรั่งเศสที่เข้ามายังกรุงศรีอยุธยาสมัยสมเด็จพระนารายณ์ และบาทหลวง ป...

บันทึกเรื่อง “ทุเรียน” ในประวัติศาสตร์ไทย ลาลูแบร์บอก “กลิ่นเกินทน”

ความดีงามของฤดูร้อนอย่างหนึ่งก็คือ มีผลไม้หลายชนิดให้เลือกกิน ตั้งแต่มะม่วง, ทุเรียน, เงาะ, มังคุด, ลำใย ฯลฯ แต่ที่ถือว่า “แรง” ทั้งเรื่องราคา, กลิ่น ...

เหตุใดคำว่า “ไท” ถึงมีความหมายว่า “อิสระ” ทำไม “ไท” ต้องเติม “ย.”...

คำว่า "ไท" กับคำว่า "ไทย" ตามความหมายของพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความไว้ว่า คำว่า "ไท" หมายถึง ไทย, ผู้เป็นใหญ่, ชนชาติไท, ความมีอิสร...

ค้นหลักฐาน “ชุดไทย” สมัยพระนารายณ์ สตรีสยามเปิด “ท่อนบน” หรือแต่งกายอย่างไร?...

เครื่องแต่งกายของชาวสยามเป็นที่สะดุดตาและสนใจสำหรับชาวต่างชาติมาหลายยุคสมัย หากย้อนกลับไปถึงสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ชาวต่างชาติจากฝรั่งเศสก็สนใจชุด...

เรื่องเพศสมัยกรุงเก่า “รับจ้างทําชําเราแก่บุรุษ” มีเจ้าของ “ซ่อง” เป็นถึง “ออกญา...

ผู้หญิงกับผู้ชายชาวสยามสมัยโบราณ มีวิถีชีวิตอย่างไร? เป็นเรื่องน่าสนใจ แต่หาหลักฐานยาก เพราะไม่ต่อยมีบันทึก ถึงจะมีก็น้อย เพราะฉะนั้นก็เดาๆ กันไปตามคว...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น