แท็ก: รัสเซีย
นโยบาย “ไม่มีมิตรแท้ และศัตรูถาวร” ในยุโรปสมัยบิสมาร์ค อัครมหาเสนาบดีแห่งเยอรมนี...
ยุโรปในช่วงปี 1870-1890 ถือว่าเป็นสมัยที่หลายประเทศต่างแสวงหาทรัพยากรและขยายอำนาจของประตนเองเองไปยังดินแดนต่างๆ โดยประเทศที่มีความโดดเด่นคือประเทศเยอร...
สมเด็จฯ เจ้าฟ้าจักรพงษ์ภูวนาถกับ “ฐานะและขนบประเพณี” เมื่อทรงศึกษา ณ รัสเซีย...
“...การเกิดเป็นเจ้าเป็นสิ่งที่น่าเบื่อหน่ายอย่างยิ่ง เพราะต้องทําอะไรตามขนบธรรมเนียมประเพณี ไม่อาจทําอะไรตามอําเภอใจได้ ไม่ว่าจะพูดหรือทําอะไรก็อยู่ใน...
จับไต๋ “แอนนา” ผู้อ้างเป็นเจ้าฟ้าหญิง “อนาสตาเซีย” หลังราชวงศ์โรมานอฟแห่งรัสเซีย...
จับไต๋ผู้อ้างเป็นเจ้าฟ้าหญิง อนาสตาเซีย ภายหลัง ราชวงศ์โรมานอฟ แห่งรัสเซียล่มสลาย...ฤาจะโป๊ะแตก
เธอทําให้โลกรู้จักและจดจํา อนาสตาเซีย เจ้าฟ้าหญิงอง...
เปิดจดหมายของเจ้าหญิงออลกา เผยแผนชิงตัวพระเจ้าซาร์และสมาชิกราชวงศ์โรมานอฟ
“The Chivers Papers” แผนการหนีที่บอลเชวิกรับว่ามีจริง...ก่อนหรือหลังเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1918 เล็กน้อย สภาโซเวียตแห่งแคว้นอูรัล (Ural) กล่าวว่า ทางการสาม...
ย้อนปมเหตุการณ์ ชาวญี่ปุ่นพยายามฆ่า “เจ้าชายนิโคลัส” รัชทายาทแห่งรัสเซีย...
ภาพที่เห็นเป็นภาพประกอบข่าวของหนังสือพิมพ์ฝรั่งเศส ลงวันที่ 24 พฤษภาคม 1891 (พ.ศ. 2434) แสดงเหตุการณ์ที่ชายชาวญี่ปุ่นเงื้อดาบหมายปลิดชีวิตเจ้าชายนิโคล...
“สตาลิน” คือ “ปูติน” ของวันนี้? สิ่งที่คล้ายกันและต่างกันของสองผู้นำรัสเซีย...
“สตาลินคือปูตินของวันนี้” คือคำที่ผมใช้ล้อกับสโลแกนหนึ่งในยุคสตาลินที่ว่า “สตาลิน ก็คือเลนินของวันนี้” (Stalin is the Lenin of today) ซึ่งเป็นการสร้า...
“เชกา” ตำรวจลับแห่งโซเวียต ปราบศัตรูของรัฐด้วยความรุนแรง ไม่ไต่สวนตามระบบยุติธรร...
วลาดีมีร์ เลนิน สถาปนาอำนาจขึ้นปกครองรัสเซียอย่างเบ็ดเสร็จเมื่อปลายปี ค.ศ. 1917 หลังจากการปฏิวัติของพรรคบอลเชวิคในการสืบทอดเจตนารมแห่งการปฏิวัติตามทฤษ...
“ภาพที่หายไป” ของซาร์นิโคลาสที่ 2 หลังราชวงศ์โรมานอฟแห่งรัสเซียล่มสลาย
เมื่อ 100 ปีมาแล้ว ราชวงศ์โรมานอฟเคยได้ปกครองจักรวรรดิที่ยิ่งใหญ่และทรงอานุภาพที่สุดในโลกมานานกว่า 300 ปี ซาร์แห่งรัสเซียทรงเป็นที่เทิดทูนบูชาดุจโอรสข...
“พุ่มสกี้” นักเรียนทุนพระมหากษัตริย์ผู้เป็นลูกชาวบ้าน-ไม่มีตระกูลคนแรกในรัชกาลที...
"นายพุ่มเป็นคนไม่มีตระกูล แต่เป็นคนฉลาดเฉียบแหลมอยู่ ก็คงจะได้ราชการดีในภายหน้า และบางทีจะได้ติดตัวลูกทำการร่วมหน้าที่กันต่อไป--"
เป็นวาทะตอนหนึ่งใ...
นัยของนวนิยาย “แม่” ภาพสะท้อนความเข้มแข็งของเพศหญิงในยุคปฏิวัติรัสเซีย...
นัยของนวนิยายเรื่อง แม่ หรือ Mother โดย แมกซิม กอร์กี้ ภาพสะท้อนความเข้มแข็งของเพศหญิงในยุคปฏิวัติรัสเซีย
แม้ว่ายุคผลิบานของการปฏิวัติในรัสเซีย ซึ่...
วิเคราะห์รากเหง้าของปัญหาในรัสเซีย ก่อนจุดเปลี่ยนสำคัญ สู่ห้วงราชวงศ์โรมานอฟล่มส...
ตั้งแต่รัสเซียประกาศสงครามกับเยอรมนีเมื่อเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1914 นั้น ในสังคมชาวต่างชาติภายในกรุงเปโตรกราด (ชื่อใหม่แทนเซนต์ปีเตอร์สเบิร์กในช่วงสงคราม ...
“สงครามไครเมีย” สมรภูมิยุคใหม่ที่พลิกโฉมประวัติศาสตร์การสงคราม
ด้วยเหตุที่ออตโตมันเป็น "คนป่วยแห่งยุโรป" จักรวรรดิที่อ่อนแอจึงตกเป็นเป้าหมายของชาติมหาอำนาจยุโรป ความอ่อนแอนี้นำมาสู่ความวุ่นวายตลอดช่วงศตวรรษที่ 18-...