แท็ก: พ่อขุนรามคำแหง
2 กันยายน 2546 ไทยประกาศ ยูเนสโกยก “จารึกพ่อขุนรามฯ” เป็นมรดกความทรงจำของโลก
กระทรวงศึกษาธิการได้ออกแถลงการณ์ลงวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2546 ประกาศว่า คณะกรรมการที่ปรึกษานานาชาติขององค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแห่งสหประช...
“พ่อขุน” ไม่เคยใช้เรียกกษัตริย์ที่ครองราชย์อยู่ “รามคำแหง” พระนามที่ชวนฉงน ?!?
คำว่า “พ่อขุน” มีใช้อยู่ในจารึกสุโขทัยเพียงสองหลักเท่านั้น คือ หลักที่ 1 และหลักที่ 2 และไม่ปรากฏที่ใช้ในเอกสารเก่าของไทยอีกเลย
“พ่อขุน” มีคำแปลของ...
พญามังราย-พญางำเมือง-พญาร่วง ร่วมกันสร้างเชียงใหม่?!?
จังหวัดเชียงใหม่มีอนุสาวรีย์ “สำคัญ” อยู่แห่งหนึ่ง คือ “พระบรมราชานุสาวรีย์สามกษัตริย์” ตั้งอยู่บริเวณหน้าหอศิลปวัฒนธรรมเมืองเชียงใหม่ ด้านหน้าติดกับถ...
พ่อขุนรามคำแหงไปเมืองจีน เอาเทคโนโลยีทำถ้วยชามกลับมาสุโขทัยจริงหรือ?
ตำราเรียนหลายเล่ม หรือบทความหลายชิ้นบทอินเตอร์เน็ตอ้างว่า พ่อขุนรามคำแหง เป็นผู้นำเข้าเทคโนโลยีทำถ้วยชามเข้ามาจากจีน และเริ่มมีการผลิตเครื่องถ้วยชามอั...
เจดีย์ที่ไม่มีใครรู้จัก กลายเป็น “เจดีย์ยุทธหัตถี” เพราะ “รีบสรุป” ก่อนศึกษา
ในจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 (ซึ่งยังเป็นที่ถกเถียงกันว่าสร้างขึ้นในยุคสมัยใดแน่) มีความตอนหนึ่งเล่าถึงเหตุการณ์ในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ เมื่อครั้งที่ขุน...
ผู้มีญาณว่า “อนุสาวรีย์พ่อขุนรามคำแหง ไม่เหมือนพระองค์จริง”?
ก่อนอื่นผมต้องขอบอกไว้ก่อนว่าตัวเองไม่มีสัมผัสพิเศษเรื่องวิญญาณ หรือหยั่งรู้เรื่องของชาติที่แล้ว จึงไม่อาจยืนยันได้ว่า บุคคลสำคัญในอดีต รวมถึงพระมหากษ...
จารึกพ่อขุนฯ “แหวกประเพณี” เมื่อสระลอย ลอยมาจม อยู่ใน “ศิลาจารึกหลักที่ 1”
มีประเด็นที่ถกเถียงกันทางวิชาการประเด็นหนึ่งจนเป็นที่สนใจของคนไทยทุกระดับ คือการถกเถียงเกี่ยวกับหลักหินชิ้นสำคัญ ศิลาจารึกหลักที่ 1 ว่าทำขึ้นในสมัยใดแ...
ข้อสงสัยการตรวจพิสูจน์ศิลาจารึกหลักที่ 1 ด้วยวิธีวิทยาศาสตร์
“เมื่อนำข้อมูลที่ได้จากการศึกษาวิจัยด้วยวิธีวิทยาศาสตร์มาพิจารณาร่วมกับข้อมูลที่ได้จากการศึกษาประวัติการค้นพบและการเก็บรักษาศิลาจารึกหลักที่ 1 ดูจะเป็...
พระแท่นมนังคศิลา กับ บัลลังก์ราชาภิเษกของอังกฤษ
ศิลาจารึกสุโขทัยหลักที่ 1 หรือที่รู้จักกันในชื่อ “จารึกของพ่อขุนรามคำแหง” ตอนหนึ่งบอกว่า
“1214 ศกปีมะโรงพ่อขุนรามคำแหงเจ้าเมืองศรีสัชชนาลัยสุโขทัยน...
พ่อขุนรามคำแหง-พ่อขุนรามพล เป็นบุคคลเดียวกันหรือไม่?
“พ่อขุนรามคำแหง” เป็นพระนามพระเจ้าแผ่นดินองค์หนึ่งของ “รัฐในอุดมคติ” (คือแคว้นสุโขทัย) จนเกือบจะเป็น “พระนามในอุดมคติ” ไปด้วย เพราะพบพระนามนี้ในจารึกห...
พ่อขุนรามคำแหง ไม่ได้ทำศิลาจารึกพ่อขุนรามฯ แต่ทำขึ้นสมัย “ลิไทย” ด้วยเหตุผลทางกา...
เมืองสองแควแต่เดิมน่าจะไม่ได้ขึ้นตรงต่อทางสุโขทัยก็ได้ เพราะแม้แต่ ศิลาจารึก ที่กล่าวถึงรัชกาลของพ่อขุนรามคำแหงเอง ก็กล่าวไปในทำนองที่ว่าเมืองสองแควเพ...
ผู้เชี่ยวชาญจากบริติชมิวเซียม อธิบายข้อจำกัดของการกำหนดอายุจารึกจากการ “ผุพัง”
สืบเนื่องจาก “ข้อสงสัยการตรวจพิสูจน์ศิลาจารึกหลักที่ ๑ ด้วยวิธีวิทยาศาสตร์ (ศิลปวัฒนธรรม, กุมภาพันธ์ ๒๕๔๗)
ช่วงปลายปีที่ผ่านมา ผมได้สอบถามไปยังบริติช...