เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันจันทร์ที่ 5 มิถุนายน พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก พระพุทธเจ้า

แท็ก: พระพุทธเจ้า

สถานที่ปรินิพพานของพระพุทธเจ้าที่แท้จริง

ความในมหาปรินิพพานสูตร เล่าเรื่องปาฏิหาริย์มากมายเมื่อทรงทอดพระองค์ลงระหว่างต้นสาละทั้งคู่ในป่าใกล้กรุงกุสินารา แต่สิ่งที่บรรยายมาทั้งหมดนี้ไม่น่าจะเป...
พระพุทธบาท พระพุทธไสยาสน์ประดับมุกลายมงคล 108 วิหารพระนอน วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

ที่มา “พระพุทธบาท” จากการสร้างสัญลักษณ์แทนพระพุทธเจ้า

สืบที่มา “พระพุทธบาท” เริ่มต้นที่ลังกา? เพื่อสร้างสัญลักษณ์แทนองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า พระพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานเมื่อมีพระชนมายุได้ 80 พรรษา ระบบศัก...
พระพุทธเจ้า จิตรกรรม พระที่นั่งพุทไธสวรรย์

“สนทนากับเทวดา” วัตรปฏิบัติประจำวันของ “พระพุทธเจ้า” หมายถึงกิจอะไร?...

"พระสมณโคดมบรมศาสดา" หรือ "พระพุทธเจ้า" ของเราเมื่อครั้งยังทรงทรมานอยู่ในโลกนั้น ท่านมีวัตรปฏิบัติประจําวันอยู่ 5 ประการ ซึ่งนักเรียนฝ่ายพุทธศาสนาเราเ...
พระพุทธเจ้า

“พระพุทธเจ้า” ในจินตนาการของฝรั่งยุคศตวรรษที่ 19

ภาพของ พระพุทธเจ้า โดย โธมัส ฮิลล์ (Thos. E. Hill) จากหนังสือ “Hill’s Album of Biography and Art” ตีพิมพ์เมื่อปี 1882 (พ.ศ. 2425) แต่พระพุทธเจ้...
จิตรกรรม พระกระยาหารมื้อสุดท้าย พระพุทธเจ้า

“สูกรมัททวะ” พระกระยาหารมื้อสุดท้ายของพระพุทธเจ้า คืออะไรแน่ ?!?

“สูกรมัททวะ” เป็น พระกระยาหารมื้อสุดท้ายของพระพุทธเจ้า ที่นายจุนทะ บุตรนายช่างทอง นำมาถวายพระองค์ เมื่อครั้งที่พระองค์เสด็จดำเนินไปยังเมืองปาวา ซึ่งระ...
พระพุทธเจ้า ทรงพักผ่อน พร้อมด้วย เหล่าภิกษุ

“หมอชีวกโกมารภัจจ์” ผู้อยู่เบื้องหลัง “โรคอันตราย 5 ประการ” ห้ามบวช

หมอชีวกโกมารภัจจ์ คือ ผู้มีความสามารถด้านการแพทย์ในสมัยพุทธกาล นอกจากความรู้ทางการแพทย์ที่สั่งสม จนได้รับตำแหน่งแพทย์ของพระเจ้าพิมพิสาร และหมอประจำของ...

ทดสอบปัญญา “มโหสถ” บัณฑิตในทศชาติชาดก ว่าด้วยเรื่อง “หุงข้าว”...

มโหสถชาดก เป็นชาดกเรื่องที่ 5 จากทศชาติชาดก เป็นเรื่องราวของพระโพธิสัตว์เสวยพระชาติบำเพ็ญปัญญาบารมี เพื่อตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในอนาคต เรื่องของ มโ...

พระอินทร์ : บทบาทในพุทธประวัติ

พระอินทร์หรือท้าวสักกะ คือเทวราชผู้เป็นใหญ่แห่งสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ซึ่งตั้งอยู่บนยอดเขาพระสุเมรุ มีปราสาทไพชยนต์หรือเวชยันตปราสาทเป็นที่ประทับ มีเวชยัน...

‘เศรษฐี’ ในพระไตรปิฎก ความร่ำรวยที่อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา

คำว่า 'เศรษฐี' ตรงกับภาษาสันสกฤตว่า 'เศรษฐิน' หมายความว่า บุคคลที่ดีที่สุด เป็นผู้นำ มีชื่อเสียง และมีเกรียรติ ในขณะที่ภาษาบาลีจะตรงกับคำว่า 'เสฏฐี' ห...

พระพุทธเจ้า กับการเสด็จป่ามะม่วงของ “อัมพปาลี” นางนครโสเภณี ก่อนวาระสุดท้าย...

เหตุการณ์ในช่วงสุดท้ายของ พระพุทธเจ้า ก่อนที่จะมีปัจฉิมโอวาทกันเป็นประโยคที่คนทั่วโลกจดจำกันได้ดี เหตุการณ์ก่อนหน้า "วาระสุดท้าย" ของพระพุทธเจ้ายังมีบ...

ตำนาน “รัตนสูตร” ปัดเป่าเภทภัยยุคพุทธกาล ถึงการประพรมน้ำพระพุทธมนต์

"รัตนสูตร" คือพระสูตรที่ว่าด้วยรัตนะ สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปรินายก (สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชิรญาณสังวร) ทรงอธิบายคำว่า "ร...

พุทธประวัตินอกกระแส “สิทธัตถะ” เกิดในสังคมแบบชนเผ่า ไม่ได้อยู่ในวรรณะกษัตริย์...

ในโอกาสที่วันนี้เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาด้วยเป็นวันวิสาขบูชา ซึ่งชาวไทยส่วนใหญ่เป็นชาวพุทธ และรัฐไทยก็ถือเอาศาสนาพุทธเป็นศาสนาประจำชาติทั้งโดยพฤติน...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น