แท็ก: ครอบครัว
หนุ่มสาวมีอะไรกันก่อนแต่ง เป็นอิทธิพลจากฝรั่งจริงหรือ
ความรัก และเพศสัมพันธ์ของคนหนุ่มสาว ยุคหนึ่งสังคมให้ “คุณค่า” กับหนุ่มสาวที่รักนวลสงวนตัว, อดเปรี้ยวไว้กินหวาน, ไม่ “ชิงสุกก่อนห่าม” ฯลฯ ว่าเป็นวิถีที...
“ฮาร่า อาซา” ภรรยานายกฯ ญี่ปุ่น สมัยไทโช อดีตเกอิชากำราบสามีแสนดุอยู่มือ...
รัชสมัยไทโช ประเทศญี่ปุ่นมีนายชื่อฮาร่า ทากาชิ เป็นประธานพรรคเซยิวไค และนายกรัฐมนตรีที่ขึ้นชื่อว่าผู้คนต้องเกรงอกเกรงใจเขาพอสมควร มีเพียงคนเดียวที่นอก...
แปลกแต่จริง หญิงไทยสมัยก่อน “ทำชู้” แล้วยังมีสิทธิบอกเลิก “ผัว” ได้อีก
ขออภัยกับภาษาที่อ่านแล้วคนไทยสมัยใหม่เห็นแล้วอาจรู้สึกขัดเคือง เพราะเรื่องที่ผู้เขียนจะเล่าเป็นเรื่องสามี-ภรรยา ในสมัยเมื่อครั้งที่คำว่า "ผัว-เมีย" ไม...
ทำไมเรียก “เสน่ห์ปลายจวัก” ใช้วัดกุลสตรี ถอดปม “ทำอาหาร-ตำน้ำพริก-ขูดมะพร้าว”...
การตำน้ำพริก ขูดมะพร้าวเป็นคุณสมบัติของกุลสตรีในสมัยก่อนจะต้องเรียนรู้และทำให้เป็น เสียงตำน้ำพริกและเสียงขูดมะพร้าวจะบอกถึงความสามารถของสตรีผู้นั้นว่า...
ทำไมสามีชาวยุโรปนิยม “ขายภรรยา” แทน “การหย่าร้าง” ในอดีต...
ช่วงศตวรรษที่ 17 การหย่าในยุโรปโดยเฉพาะในประเทศอังกฤษถือว่าเป็นเรื่องที่ยุ่งยาก และมีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงมาก แม้การ หย่า จะมีกฎหมายควบคุม และต้องได้ร...
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ “พ่อตาดุ” พระองค์หนึ่งในประวัติศาสตร์กรุงศรี
สมเด็จพระมหาจักรพรรดิ (พระนามเดิม พระเทียรราชา) สมาชิกของราชวงศ์สุพรรณภูมิ แห่งกรุงศรีอยุธยา แม้พระองค์ไม่ใช่กษัตริย์นักรบ แต่ก็ทรงขยันขันแข็งในการปรั...
คำเล่าลือรัชกาลที่ 6 “มีพระชายาไม่ได้” และคำอธิบายจากเจ้านายที่ถวายรับใช้ใกล้ชิด...
ตอนหนึ่งในเรื่อง “พระราชวงศ์จักรี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 6 (สิ่งที่ข้าพเจ้าพบเห็น สมัยรัชกาลที่ 6)” (สนพ.มติชน, มีนาคม 2561) หม่อมเจ้าพูนพิศมัย...
“เทียนวรรณ” ปัญญาชนสยาม วิจารณ์สังคม “ผัวเดียวหลายเมีย”
"เทียนวรรณ" หรือ เทียน วัณณาโภ เป็นปัญญาชนสยามคนแรก ๆ ที่ออกมาวิพากษ์วิจารณ์สังคมในเรื่อง "ผัวเดียวหลายเมีย" ในสมัยรัชกาลที่ 5 ซึ่งเป็นยุคที่สังคมในระ...
“เมีย” ยุคโรมัน มีความเท่าเทียม หน้าที่ และการอยู่กินกับผู้ชาย?
ในหนังสือ “อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้ รวมบทความเนื่องในวาระครบรอบ 60 ปี ฉลาด รมิตานนท์” (สนพ. มติชน, พิมพ์ครั้งแรก กุมภาพันธ์ 2549) โดยมี อานันท์ กาญจนา...
ข้อจำกัดและสิทธิเสรีภาพของผัว-เมีย ในสังคมกรีกโบราณ
ในหนังสือ “อยู่ชายขอบ มองลอดความรู้ รวมบทความเนื่องในวาระครบรอบ 60 ปี ฉลาด รมิตานนท์” (มติชน, 2549) โดยมี อานันท์ กาญจนาพันธุ์ เป็นบรรณาธิการ มีบทความ...
ปฏิวัติ 2475 ส่งผลต่อแนวคิด “ผัวเดียวหลายเมีย” และ “ความเสมอภาค” ของผู้หญิง อย่า...
ภายหลังคณะราษฎร "ปฏิวัติ" เปลี่ยนระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 มโนทัศน์ว่าด้วยเสรีภาพและความเสมอภาคได้...
เปิดจุดเสื่อมระบบ “ผัวหลายเมีย” ไทยผ่านอะไรบ้างกว่าจะมีกฎหมาย “ผัวเดียวเมียเดียว...
สถาบันครอบครัวในสังคมสมัยโบราณของหลายประเทศอยู่ภายใต้ระบบ "ผัวเดียวหลายเมีย" ไม่เว้นแม้แต่สยามในช่วงก่อนการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เมื่อฝ่ายชายเป็นผู้มีอ...