เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอังคารที่ 5 ธันวาคม พ.ศ.2566
หน้าแรก แท็ก การเมือง

แท็ก: การเมือง

นางอาชิดะ สุมิโกะ

“สุมิโกะ” โฉมงามแห่งชินบาชิ ภรรยาอดีตนายกฯญี่ปุ่นที่สวยเตะตาจนสร้างปัญหา

ในชินบาชิ กรุงโตเกียว ประเทศ ญี่ปุ่น มีผู้หญิงที่ได้รับการขนานนามว่า “ผู้ดับรัศมีสาวงามในชินบาชิ” เธอคนนั้นคือ “นางอาชิดะ สุมิโกะ” บุตรสาวของพ่อค้าขาย...

22 พฤศจิกายน 2506 ประธานาธิบดี จอห์น เอฟ เคนเนดี ถูกลอบยิงที่รัฐเท็กซัส

วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2506 ประธานาธิบดี จอห์น เอฟ เคนเนดี ได้เดินทางไปยังเมืองดัลลัส รัฐเท็กซัส เพื่อหาเสียงสำหรับการเลือกตั้งตำแหน่งประธานาธิบดีสม...
ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช

มันอาถรรพณ์ คนดีเป็นผู้แทนก็เปลี่ยนไปมาก-ประสบการณ์ของ “คึกฤทธิ์”

หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช (20 เมษายน 2454 - 9 ตุลาคม 2538) เป็นผู้ร่วมก่อตั้งพรรคก้าวหน้า, รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงพาณิชย์ ในรัฐบาลจอมพล ป.พิบูลสง...
จอมพล ผิน ชุณหะวัณ ผู้นำ รัฐประหาร 2490

ทำไม “พลโท ผิน” ผู้นำรัฐประหาร 2490 ไม่เป็นนายกรัฐมนตรีเสียเอง

ภายหลัง รัฐประหาร 2490 (8 พฤศจิกายน 2490) พลโท ผิน ชุณหะวัณ นายทหารนอกราชการ สังกัดกองบังคับการสำนักงานปลัดกระทรวงกลาโหม ที่เป็นหัวหน้านำกำลังเข้ายึดอ...
รัฐประหาร พ.ศ. 2490

สาเหตุ “รัฐประหาร 2490” จากปัญหานานัปการหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติ...

สาเหตุ รัฐประหาร 2490 จากปัญหานานัปการหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติ เมื่อเกิดการรัฐประหารในประเทศไทย มักมีการยก "เหตุผล" ขึ้นมาสนับสนุนการกระทำ เพื่...
พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ

“บุฟเฟ่ต์คาบิเนต” ฉายารัฐบาลชาติชาย คอร์รัปชันทานไม่อั้น หนึ่งในข้ออ้างรัฐประหาร...

“บุฟเฟ่ต์คาบิเนต” ฉายารัฐบาล พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ คอร์รัปชัน-ทานไม่อั้น หนึ่งในข้ออ้าง รัฐประหาร 2534 เมื่อ พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ ประกาศ “ผมพอแล้...
คิมจองอึน ไม่ชอบ ช็อกโกพาย สั่งแบน ใน เกาหลีเหนือ

“ช็อกโกพาย” ขนมขวัญใจแดนโสมขาว ที่ “คิมจองอึน” ผู้นำโสมแดงไม่ปลื้ม!

“ช็อกโกพาย” (Choco Pie) คือขนมซอฟท์เค้กเคลือบช็อกโกแลต สอดไส้มาร์ชเมลโลว์ ที่มีรสชาติหวานหอมนุ่ม หลายคนเพียงชิมหนึ่งครั้งก็ตกหลุมรักในรสสัมผัสของมันทั...
เหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516

“พ่อข้าฯ เพิ่งจะยิ้ม” นวนิยายสะท้อนภาพขบวนการนักศึกษา ในเหตุการณ์ 14 ตุลา 16

นวนิยายที่สะท้อนเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 มีหลายเรื่อง หนึ่งในนั้นคือ “พ่อข้าฯ เพิ่งจะยิ้ม” ประพันธ์โดย “สันติ ชูธรรม” นามปากกาของ สุวัฒน์ วรดิลก พิมพ์...
ทหาร สงครามโลกครั้งที่ 2 สงคราม

เปิดเหตุผล ทำไมมนุษย์ต้องทำ “สงคราม” ทั้งทีเต็มไปด้วยความสูญเสีย

คุณคิดว่า “มนุษย์” ทำ "สงคราม" กันมานานแต่ไหน นักวิชาการอธิบายว่าหลักฐานจากหลุมศพของชนเผ่าในยุคหิน มนุษย์ตายด้วยถูกอาวุธเป็นจํานวนมาก ทั้งยังแจงว่าสงค...
เยรูซาเล็ม อิสราเอล-ปาเลสไตน์

ความขัดแย้ง “อิสราเอล-ปาเลสไตน์” สงครามความรุนแรงที่ไม่จบสิ้น ไฉนเป็นเช่นนี้?

ภูมิภาค “ตะวันออกกลาง” มีความสำคัญในแง่ภูมิรัฐศาสตร์ เนื่องจากตั้งอยู่กึ่งกลางระหว่างโลกตะวันตกกับตะวันออก ภูมิภาคนี้จึงมีบทบาททางการเมืองโลกอย่างหลีก...
จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ วาทะอมตะ ข้าพเจ้ารับผิดแต่เพียงผู้เดียว

“ข้าพเจ้ารับผิดแต่เพียงผู้เดียว” คำพูดอมตะของ “จอมพลสฤษดิ์”

เมื่อรัฐประหารยึดอำนาจจาก พลเอก ถนอม กิตติขจร (ยศในขณะนั้น) จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ก็ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี ด้วยรูปแบบการบริหารที่เบ็ดเสร็จ เด็ดขาด ช่วงเว...
เผ่า ศรียานนท์ สฤษดิ์ ธนะรัชต์

เพื่อนรัก หักเหลี่ยมโหด ฉบับ “สฤษดิ์-เผ่า” กับควันหลงวาทะ “ทำไมมึงทำกับกู..พูดกั...

พันตำรวจเอก พุฒ บูรณสมภพ เขียนหนังสือว่าด้วยเรื่อง “บุรุษเหล็กแห่งเอเชีย” เนื้อหาตอนหนึ่งปรากฏประโยคสนทนาเชิงตัดพ้อระหว่าง พลเอก สฤษดิ์ ธนะรัชต์ กับ พ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น