เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สุพรรณบุรี

แท็ก: สุพรรณบุรี

เจ้าหน้าที่ จับโจร

เส้นทางเสือสุพรรณ “เสือฝ้าย” ถึง “เสือใบ” กับเหตุเบื้องลึก เป็นผู้ร้ายแบบไม่ตั้ง...

เฉพาะเสือร้ายที่มีชื่อเสียงในเขต เมืองสุพรรณบุรี และใกล้เคียง หรือที่เรียกกันให้เข้าใจว่า "เสือสุพรรณ" มีอยู่จํานวนมาก นับแต่เสือสม เสือศักดิ์ เสือแพร...
การแสดง โรงละคร เลือดสุพรรณ

“เลือดสุพรรณ” ทำไมเป็นสัญลักษณ์ปลุกใจเรื่องความร่วมมือสามัคคี

“เลือดสุพรรณ” เป็นคำพูดเรียกความร่วมมือสามัคคีที่ใช้กันบ่อยครั้ง ไม่ว่าจะเป็น เลือดสุพรรณไปไหนไปกัน, เลือดสุพรรณไม่ทิ้งกัน, และอีกหลากหลายเลือดสุพรรณ....
จิตรกรรมฝาผนัง ขุนช้างขุนแผน วัดป่าเลไลยก์ สุพรรณบุรี บทความ สำเนียงเหน่อสุพรรณบุรี

“สำเนียงหลวงอยุธยา” มาจาก “สำเนียงเหน่อสุพรรณบุรี” รากเหง้าสำเนียงโคราช?...

"สำเนียงหลวงอยุธยา" มาจาก สำเนียงเหน่อสุพรรณบุรี รากเหง้าสำเนียง โคราช? รัฐสุพรรณภูมิ (สุพรรณบุรี) ใช้ภาษาไทย (สำเนียงเหน่อ ลาวลุ่มน้ำโขง) ในตระกูล...
ภาพถ่าย ซาก เจดีย์ยุทธหัตถี

การค้นพบหลักฐาน “เจดีย์ยุทธหัตถี” ที่ใช้ยืนยันตำนานพระนเรศวรชนช้างเป็นเรื่อง “จร...

เจดีย์ยุทธหัตถี เชื่อกันว่าสร้างขึ้นเป็นอนุสรณ์ถึง ยุทธหัตถี ระหว่าง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช กับ พระมหาอุปราชมังกะยอชวา (หรือมังสามเกียดที่เรารู้จักกันใ...
หอดูโจร ตลาดเก้าห้อง อำเภอบางปลาม้า สุพรรณบุรี เมืองสุพรรณบุรี

ทำไม “เมืองสุพรรณบุรี” ในอดีต ขึ้นชื่อว่าเป็น “เมืองโจร-เมืองคนดุ” !?...

เหตุใด "เมืองสุพรรณบุรี" ในอดีต ขึ้นชื่อว่าเป็น "เมืองโจร" หรือ "เมืองคนดุ" ? เมื่อ 70-80 ปีมาแล้ว เมืองสุพรรณบุรี มีชื่อเสียงลือกระฉ่อนไปในทางลบ เป็...
ภาพถ่าย ซาก เจดีย์ยุทธหัตถี

วิวาทะเจดีย์ยุทธหัตถี สถานที่รำลึกวีรกรรม “พระนเรศวร” อยู่ที่ไหนกันแน่ ?!?

เมื่อปี 2456 สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงชี้ว่า พื้นที่ยุทธหัตถี วีรกรรมอันเลื่องลือของ “พระนเรศวร” หรือ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช อยู่ที่จังหวัดสุพร...
น้ำศักดิ์สิทธิ์ สระน้ำศักดิ์สิทธิ์ สุพรรณบุรี

“พันปีไม่เคยแห้ง” น้ำศักดิ์สิทธิ์ ของพญานาค จากสระทั้งสี่ ที่เมืองสุพรรณบุรี...

"พันปีไม่เคยแห้ง" น้ำศักดิ์สิทธิ์ ของพญานาค จากสระทั้งสี่ ที่ "เมืองสุพรรณบุรี" น้ำศักดิ์สิทธิ์ ของพญานาค น้ำซับผุดจากใต้ดิน คนแต่ก่อนเชื่อว่าเป็นน้...
หลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์ จ. สุพรรณบุรี

“หลวงพ่อโต” วัดป่าเลไลยก์ ที่สุพรรณบุรี แสดงปางป่าเลไลยก์ตั้งแต่แรก ไม่ใช่ปางประ...

“หลวงพ่อโต” พระประธานวิหาร วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร หรือ วัดป่าเลไลยก์ ที่ จ. สุพรรณบุรี สรุปแล้วเป็น “ปางป่าเลไลยก์” ตั้งแต่แรก หรือเดิมทีคือ “ปางปฐมเทศน...
หอดูโจร ตลาดเก้าห้อง อำเภอบางปลาม้า สุพรรณบุรี เมืองสุพรรณบุรี

ที่มาคำพังเพย “ไปสุพรรณ 2-3 วันก็รวย ขาไปขี่ม้า ขามาขี่ต้นกล้วย”

คำพังเพยเกี่ยวกับ เมืองสุพรรณ ที่ว่า “ไปสุพรรณ 2-3 วันก็รวย ขาไปขี่ม้า ขามาขี่ต้นกล้วย” เป็นชื่อบทความที่ มนัส โอภากุล เขียนในนิตยสาร “ศิลปวัฒนธรรม” เ...
เสลี่ยง วัดกุฎีทอง สุพรรณบุรี พระเพทราชา กษัตริย์ กรุงศรีอยุธยา

พระเพทราชา กับตำนาน “ชายนอนหลับ” ชื่อ “สิงห์” และ “เสลี่ยง” วัดกุฎีทอง สุพรรณบุร...

"พระเพทราชา" กษัตริย์แห่งกรุงศรีอยุธยา ผู้เป็นที่รักใคร่ของ "สมเด็จพระนารายณ์มหาราช" กับตำนาน “ชายนอนหลับ” ชื่อ “สิงห์” และ “เสลี่ยง” วัดกุฎีทอง สุพรร...
รถเก๋ง รถยนต์ สมัยรัชกาลที่ 6 บริเวณ ถนนเจริญกรุง สี่กั๊กพระยาศรี

คนไทยคุ้นกับคำ “รถเก๋ง” แต่สมัยก่อนยังมีคำว่า “รถกูบ”…รถกูบ คืออะไร?...

คำเรียกพาหนะ หรือ รถ ที่คนไทยสมัยใหม่คุ้นเคยอย่างดีย่อมต้องมีคำว่า รถเก๋ง แต่สมัยก่อนมีคำที่เลิศไม่แพ้กันอย่าง รถกูบ … รถกูบ คืออะไร? รถเก๋ง คำนี้เรา...
บ่อสุพรรณ อำเภอสองพี่น้อง สุพรรณบุรี

อ.สองพี่น้องที่สุพรรณ ใครคือ “พี่น้อง”-ค้นบ้านเกิดพุ่มพวง ดวงจันทร์ พื้นที่ร.6เค...

พุ่มพวง ดวงจันทร์ หรือรำพึง จิตรหาญ "ราชินีเพลงลูกทุ่ง" เกิดที่บ้านดอนตำลึง ตำบลบ่อสุพรรณ อำเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อ 4 สิงหาคม 2504 (เสีย...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น