เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สยาม

แท็ก: สยาม

รัชกาลที่ 4 เงิน เหรียญไทย ใน บทความ แจกเงิน ร.4

เปิดเกณฑ์ นโยบาย “แจกเงิน” ถ้วนหน้า สมัยรัชกาลที่ 4 ที่นักโทษก็ได้รับ?!

นโยบาย “แจกเงิน” เป็นหนึ่งในนโยบายกระตุ้นเศรษฐกิจ ช่วยให้ประชาชนมีกินมีใช้ในเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งหลาย ๆ รัฐบาลมักหยิบยกมาเสนอต่อประชาชนภายใต้ชื่อโครงการ...
กัปตัน เอส. เบิด เอมส์ หลวงรัฐยาธิบาลบัญชา ตำรวจ

ตำรวจคนแรกในไทย(สมัยรัตนโกสินทร์) ตร.ยุคต้นโดนชาวบ้านล้อ-แกล้ง ก่อนเป็นกิจการเต็...

ผู้พิทักษ์สันติราษฎร์ หรือที่คนไทยเรียกกันจนชินว่า "ตำรวจ" ที่มาของคำนี้เคยมีผู้วิเคราะห์กันเอาไว้แล้ว ในช่วงที่ผู้คนในสังคมพูดถึง "การรักษาระเบียบแบบ...

เมื่อ 100 ปีที่แล้ว สยามไปร่วมงาน Paris EXPO 1900

งานแสดงสินค้านานาชาติ หรือ งาน EXPO วันนี้อาจไม่ใช่เรื่องใหญ่อะไร เพราะเห็นและจัดกันมากหลายครั้งจนคุ้นเคย หากที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นงาน EXPO เมื่อ 100 ...
อักษรไทย ฃ-ฅ

ทำไมต้องมี “ฃ-ฅ” ทั้งที่ “ข-ค” ก็ใช้แทนได้?

ปัจจุบันหากถามว่า อักษรไทย “ฃ-ฅ” มีหน้าที่อะไร ใช้ในคำไหนบ้าง คนส่วนใหญ่อาจส่ายหน้า เพราะตัวอักษรดังกล่าวแทบไม่ปรากฏให้เห็นในชีวิตประจำวันแล้ว แต่หากย...
คนเมือง ลาวล้านนา ลาว

ทัศนคติชนชั้นนำสยามต่อลาวล้านนา จากดูหมิ่น-เหยียด ก่อนยอมรับเป็นพวกเดียวกัน

เผยทัศนคติชนชั้นนำของ สยาม ต่อ ลาว ลาวล้านนา จากดูหมิ่น-เหยียด ก่อนยอมรับเป็นพวกเดียวกัน ในอดีตคำว่า “ลาว” ใช้เรียกกลุ่มคน 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่อาศั...
ตลาด ใน ล้านนา แม่ค้า ผู้หญิง

รัชกาลที่ 6 ทรงใช้ลัทธิชาตินิยมลบภาพ “ลาวล้านนา” ผ่านการศึกษา

รัชกาลที่ 6 ทรงใช้ลัทธิชาตินิยมลบภาพ “ลาวล้านนา” ผ่าน “การศึกษา” การล่าอาณานิคมเริ่มคืบคลานเข้ามาในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เมื่อคริสต์ศตวรรษที่ 19 โด...
เซอร์ จอห์น เบาริ่ง สนธิสัญญาเบาว์ริง วัดปทุมวนาราม รัชกาลที่ 4

“สนธิสัญญาเบาว์ริง” จุดเริ่มต้นการทำลายป่า “ไม้สัก” ในสยาม

สนธิสัญญาเบาว์ริง คือสนธิสัญญาระหว่างสยามกับสหราชอาณาจักร ลงนามกันใน พ.ศ. 2398 ในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีสาระสำคัญคือให้สยามเปิดเ...

ตำนาน “ออกญาสวรรคโลก (เมือง)” แม่ทัพกัมพูชาสละชีพเกณฑ์กองทัพผีต้านสยาม หรือต้านใ...

เป็นเรื่องธรรมดาที่แต่ละประเทศย่อมมี "วีรบุรุษ" เป็นของตัวเอง สำหรับกัมพูชา พวกเขามี ออกญาสวรรคโลก (เมือง) เป็นวีรบุรุษสำคัญอีกผู้หนึ่งของ กัมพูชา ...
ปราสาทบายน

ยุคมืดในประวัติศาสตร์สยาม และอุษาคเนย์ในยุคหัวเลี้ยวหัวต่อ

ในหนังสือ “ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคนไทย” (สนพ. มติชน, พิมพ์ครั้งแรก มิถุนายน 2559) ได้รวบรวมข้อเขียนของนักวิชาการปร...
กลุ่ม ชาติพันธุ์ สองฝั่ง แม่น้ำโขง

จาก “สยาม” มาเป็น “ไทย” แล้วทำไม “ไทย” จึงต้องมี “ย”

“ไท” เป็นชื่อของกลุ่มชนที่ใช้ภาษาตระกูลไท รวมถึงกลุ่มชนบางส่วนในภาคอีสานของอินเดีย (อาหม) ที่ปัจจุบันมิได้พูดภาษาตระกูลไทแล้ว และชาวไทยในประเทศไทย ก็เ...
รัชกาลที่ 5 กับ พระเจ้าซาร์ แห่งรัสเซีย หรือ พระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2

เบื้องหลังท่าทีมิตรที่ดีของ “พระเจ้าซาร์” ที่มีต่อสยาม

เอกสารชุดใหญ่ในรูปจดหมายเหตุต่อไปนี้ ชี้ให้เห็นถึงบทบาทอำพรางของ พระเจ้าซาร์ ในราชสำนักไทย สมัย รัชกาลที่ 5 ข้อมูลเหล่านี้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวของการรา...
ห้าง เยาวราช ท่องเที่ยว ชาว จีน

ย้อนดูพัฒนาการคำว่า “ห้าง” จากศัพท์จีนทั่วไปสู่คำที่คนไทยติดปาก!

“ห้าง” เป็นคำที่คนไทยมักใช้เรียกแทนสถานที่จำหน่ายสินค้าหรือสถานที่ประกอบธุรกิจ คำว่าห้างอยู่คู่กับคนไทยมานาน ไม่ว่าจะมองไปทางไหนก็จะพบเจอกับสิ่งที่เรี...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น