เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 25 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ภาคเหนือ

แท็ก: ภาคเหนือ

การสรงน้ำ สรงน้ำพระ อยุธยา สตรี ประเพณีสงกรานต์

ดู “การสรงน้ำ” ช่วงสงกรานต์สมัยโบราณ วิธีสรงน้ำที่คนไม่แออัดในภาคเหนือ-อีสาน...

"การสรงน้ำ" เนื่องใน "ประเพณีสงกรานต์" ยึดถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่อดีต โดยจะทำการสรงน้ำพระพุทธรูปก่อน แล้วจึงสรงน้ำพระสงฆ์ภายหลัง รวมทั้งมีการก่อพระเจดี...
สงกรานต์เชียงใหม่ สงกรานต์ ล้านนา สาดน้ำ ปากปี๋

“ปากปี๋” วันเริ่มต้นปีใหม่ (ที่แท้จริง?) ของภาคเหนือ คนล้านนาทำอะไร ไหว้อะไร?

“ปากปี๋” วันเริ่มต้นปีใหม่ “ที่แท้จริง” ของ ภาคเหนือ? วันนี้สำคัญอย่างไร คนล้านนาทำอะไร ไหว้อะไรกัน? “ศิลปวัฒนธรรม” ร่วมกับ สมฤทธิ์ ลือชัย ผู้เชี่ย...
ผีขี้หมา ประจำ ภาคเหนือ

“ผีขี้หมา” ตำนานผีล้านนา ที่หลายคนอาจไม่รู้จัก เกิดมาจากอะไร?

“ผีขี้หมา” เป็นอีกหนึ่งตำนานผีลี้ลับของ “ภาคเหนือ” ที่ใครหลายคนอาจไม่รู้จัก ผีขี้หมาคืออะไร ทำไมถึงได้ชื่อนี้ บทความนี้มีคำตอบ! ตำนาน “ผีขี้หมา” ปร...
แมว ผีกะ ผีกละ

ผีกะ ผีถิ่นเหนือ ใครไม่อยากเป็นแล้ว แค่เอาน้ำลายไปป้ายปาก “แมว” ?

“ผีกะ” (ผีกละ) เป็นผีในพื้นถิ่น “ภาคเหนือ” ที่อยู่ร่วมกับความเชื่อ สังคม และวัฒนธรรมของชาวบ้านเป็นระยะเวลานาน การสืบทอด “ผีกะ” มักสืบทอดจากทาง ฝั่งแม่...
ผีกะ ผี ภาคเหนือ ในละคร วิญญาณแพศยา ช่อง 8

เจาะลึกเรื่องหลอน “ผีกะ” ผีพื้นบ้านภาคเหนือ มีที่มาอย่างไร เลี้ยงแบบไหน ใช้วิธีใ...

เมื่อพูดถึงเรื่อง “ผี” ประจำถิ่น หลายคนคงจะนึกถึง ผีปอบ ผีกระสือ ผีกระหัง ผีแม่นาค ฯลฯ แต่มีผีอีกชนิดหนึ่ง ที่มีเรื่องราวน่าสนใจ ทั้งยังเป็น ผี ชนิดเด...
วัวต่าง

รู้จัก “วัวต่าง” กับวิถีชีวิตทางเหนือ ทำไมถึงเรียกว่า “วัวต่าง”?

“วัวต่าง” ไม่ได้มีลักษณะต่างจากวัวทั่วไปแต่อย่างใด เพียงแต่เติมคำว่า “ต่าง” ต่อท้าย  พจนานุกรมฉบับมติชนอธิบายคำว่า "ต่าง" 1. เป็นคำกริยา บรรทุก, ขนย้า...
เมืองสามหมอก แม่ฮ่องสอน หมอก

แม่ฮ่องสอน “เมืองสามหมอก” หมอกอะไรบ้าง?

แม่ฮ่องสอน จังหวัดหนึ่งทางภาคเหนือของไทย กับสมญานาม “เมืองสามหมอก” หรือ “เมืองในหมอก” มีความหมายว่าอย่างไร? จากคำขวัญจังหวัด ที่ว่า “หมอกสามฤดู กอง...
หญิงไทย หนังสือเล่าเรื่องกรุงสยาม คนไทย ไทย ไท คนไท

“ห่าจก-ห่ากิ๋นตั๊บ” ส่องวัฒนธรรมคำด่าตระกูล “ห่า” จากเหนือจรดใต้ อดีตถึงปัจจุบัน...

ห่าจก ห่ากิ๋นตั๊บ ส่องวัฒนธรรม "คำด่า" ตระกูล "ห่า" จากเหนือจรดใต้ อดีตถึงปัจจุบัน ทำไมคำว่าห่าถึงกลายเป็นคำด่าไปได้ เป็นเรื่องน่าสนใจทีเดียวเมื่อน...
ก๋วยสลาก ตานก๋วยสลาก กิ๋นข้าวสลาก ประเพณี ภาคเหนือ

ความเป็นมาของ “ตานก๋วยสลาก” ประเพณีทำบุญให้คนตาย ทำทานให้คนเป็น

"ตานก๋วยสลาก" หรือที่ภาษาไทยภาคกลางเรียกว่า "สลากภัต" เป็นประเพณีเนื่องในพระพุทธศาสนาที่กระทำสืบต่อกันมาตั้งแต่ครั้งพุทธกาล ในภาคเหนือจะเรียกประเพณีต่...
พระบรมราชานุสาวรีย์ พญางำเมือง จังหวัด พะเยา

“พญางำเมือง” สถาปนารัฐพะเยา กับตำนาน “แกงหวานบ้านแตก”

“พญางำเมือง” แห่งเมือง พะเยา เชื้อวงศ์ขุนจอมธรรมกับขุนเจือง ผู้นำกลุ่มโยนก เมื่อครองเมืองพะเยาแล้ว ได้ขยายเครือข่ายกับเครือญาติ เช่น รัฐเชียงราย, รัฐส...
หมาขนคำ

“หมาขนคำ” ตำนานเมืองลำปาง วิเคราะห์เบื้องหลังเรื่องเล่าท้องถิ่นกับอิทธิพลจากพื้น...

“หมาขนคำ” คือวรรณกรรมมุขปาฐะที่สืบต่อกันมาโดยปรากฏในวัฒนธรรมล้านนา สันนิษฐานว่าอาจมีเค้ามาจากสุวัณณเมฆะหมาขนคำ หรือนิทานปัญญาสชาดก คู่มือธรรมใบลานในภา...

ค้นที่ไปที่มา “สิงโต”- “สิงห์โต” ประวัติของคำที่น่าจะสืบสวนให้แน่นอน?...

ไม่ทราบว่าเหตุใดพจนานุกรมราชบัณฑิตยสถานจึงเขียน สิงโต แทนที่จะเขียนว่า สิงห์โต อย่างที่คนไทยเคยเขียนกันมา อาจเป็นเพราะผู้ชำระพจนานุกรมเห็นว่า สิงห์โตเ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น