เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ธนาคาร

แท็ก: ธนาคาร

ชิน โสภรพนิช ธนาคารกรุงเทพ

ชิน โสภณพนิช ลูกจ้างเรือขนส่งพืชไร่ สู่ผู้สร้างตำนาน “ธนาคารกรุงเทพ”

ชิน โสภณพนิช (พ.ศ. 2453-2531) นักธุรกิจผู้ก่อตั้ง ธนาคารกรุงเทพ (ปัจจุบันคือ ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)) ชินมีชื่อจีนว่า ตั้งเพี๊ยกชิ้ง บิดาชื่อ ตั้ง...
วังบางขุนพรหม ที่ทำการ ธนาคารแห่งประเทศไทย หรือ ธนาคารกลาง

“ธนาคารแห่งประเทศไทย” เกิดขึ้นเมื่อไหร่? ทำไมตั้งที่วังบางขุนพรหม?

ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) หรือ ธนาคารกลาง มีบทบาทในการกำกับดูแลสถาบันการเงินต่างๆ ของไทย มีความพยายามจัดตั้งขึ้นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2431 สมัยรัชกาลที่...
พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย และ ผู้บริหาร แบงค์สยามกัมมาจลทุน จำกัด หรือ แบงค์สยามกัมมาจล หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์

กำเนิดธนาคารในประเทศ จากแบงค์ฝรั่ง ถึงธนาคารไทยพาณิชย์ แบงค์ไทยแห่งแรก

กำเนิดธนาคารในประเทศ จากแบงค์ฝรั่ง ถึง "ธนาคารไทยพาณิชย์" แบงค์ไทยแห่งแรกสมัยรัชกาลที่ 5 นับตั้งแต่ปี 2403-2431 มีธนาคารพาณิชย์ต่างชาติหลายแห่งตั้ง...

3 มีนาคม 2540 : ไทยสั่งห้ามซื้อขายหุ้นกลุ่มธนาคารส่งสัญญาณ “วิกฤตต้มยำกุ้ง”

ในวันที่ 3 มีนาคม 2540 ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยได้สั่งระงับการซื้อขายหุ้นในกลุ่มธนาคารทั้งหมดซึ่งมีมูลค่ารวมกันกว่า 2.9 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ คิดเป็...

ธนาคารแห่งประเทศไทย ในสถานการณ์ “สงคราม”

ความพยายามที่จะตั้ง “ธนาคารกลาง” หรือ “ธนาคารแห่งประเทศไทย” มีขึ้นครั้งแรกในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าอยู่หัว แต่ไม่สำเร็จ เพราะชาวยุโรปที่มีบท...

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เคยมีธนาคารของตัวเองจริงหรือ?

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อครั้งยังใช้ชื่อว่า มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาตร์และการเมือง (มธก.) เคยมีธนาคารเป็นของตัวเองคือ ธนาคารธนาคารแห่งเอเชียเพื่อการอุตส...
พระเจ้าน้องยาเธอกรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย และ ผู้บริหาร แบงค์สยามกัมมาจลทุน จำกัด หรือ แบงค์สยามกัมมาจล หรือ ธนาคารไทยพาณิชย์

วิกฤติจากผู้บริหารแบงก์สยามกัมมาจล ที่เกือบทำให้แบงก์ล่ม

เมื่อทดลองการจัดตั้งธนาคารพาณิชย์ในรูปแบบ “บุคคลัภย์” จนประสบความสำเร็จ พระเจ้าน้องยาเธอ กรมหมื่นมหิศรราชหฤทัย เสนาบดีกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ กราบบังค...

ทำไม “ถนนทรงวาด” กลายเป็นแหล่งบ่มเพาะกิจการ-นักธุรกิจในยุคบุกเบิก

ย้อนรอย ถนนทรงวาด ที่ตั้งสถานศึกษาซึ่งผลิตเจ้าสัวมากสุดในไทย แหล่งบ่มเพาะนักธุรกิจ กิจการท้องถิ่น สู่ธุรกิจที่พัฒนาเป็นบริษัทระดับนานาชาติ สำหรับผู...

“นายหลิมจุนเบง” ผู้ใจบุญที่มั่งคั่ง ผจก.คนแรกของธนาคารมณฑล ก่อนเป็น “ธนาคารกรุงไ...

นายหลิมจุนเบง หรือนายลิ้ม ธรรมจรีย์ เป็นพ่อค้าที่มีฐานะมั่งคั่งในช่วงปลายรัชกาลที่ 5 และต่อๆ มา และเป็นผู้ที่มีจิตใจงดงาม ชอบช่วยเหลือสังคม จึงได้รับเ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น