เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันอาทิตย์ที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก สงครามโลกครั้งที่ 2

แท็ก: สงครามโลกครั้งที่ 2

ปรีดี พนมยงค์

16 สิงหาคม 2488 “ปรีดี” ออกประกาศสันติภาพ ให้สถานะสงครามกับอังกฤษ-สหรัฐฯ เป็นโมฆ...

วันที่ 16 สิงหาคม 2488 ปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าขบวนการเสรีไทย และผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 ออก "ประกาศสันติภาพ" ในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพร...

15 สิงหาคม 1945: “จักรพรรดิฮิโรฮิโตะ” ประกาศยอมแพ้สงครามอย่างไม่มีเงื่อนไข

เมื่อวันที่ 15 สิงหาคม 1945 (พ.ศ. 2488) จักรพรรดิฮิโรฮิโตะ ประกาศยอมแพ้สงครามต่อฝ่ายสัมพันธมิตรอย่างไม่มีเงื่อนไข หลังถูกสหรัฐฯ ถล่มด้วยระเบิดปรมาณู 2...
เก็น เจ้าหนูสู้ชีวิต Hadashi no Gen

Hadashi no Gen เปิดตำนาน “เก็น เจ้าหนูสู้ชีวิต” การ์ตูนสะท้อนปัญหาสงคราม...

ใน ค.ศ. 1972 Hadashi no Gen การ์ตูนสะท้อนปัญหาสงคราม ผลงานของ เคอิจิ นาคาซาวา ได้สั่นสะเทือนวงการมังงะ (การ์ตูนญี่ปุ่น) ของญี่ปุ่น เมื่อเขานำการ์ตูนชุ...
การทดสอบ ระเบิดปรมาณู

ที่มาระเบิดปรมาณูในสงครามโลกครั้งที่ 2 โครงการสุดลับของอเมริกา

ที่มา "ระเบิดปรมาณู" ในสงครามโลกครั้งที่ 2 โครงการสุดลับของอเมริกา เดือนสิงหาคม 1939 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เขียนจดหมายถึง ประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี. รู...
สภาพ เมือง นางาซากิ หลังถูกถล่มด้วย ระเบิดปรมาณู

9 สิงหาคม 1945 สหรัฐฯ ทิ้งระเบิดปรมาณู “ไอ้อ้วน” ถล่มนางาซากิ

“ไอ้อ้วน” (Fat man) เป็นระเบิดปรมาณูเชื้อเพลิงพลูโตเนียม-239 ของกองทัพสหรัฐฯ ที่ถูกใช้ถล่มเมืองนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 มีพลังทำล...

เปิดชีวิตของ ซึโตมุ ยะมะกุจิ ผู้รอดจากระเบิดปรมาณูทั้งที่ฮิโรชิมา และนางาซากิ

ซึโตมุ ยะมะกุจิ (Tsutomu Yamaguchi) ผู้โชคดีที่รอดชีวิตระเบิดปรมาณูถึง 2 ครั้ง ที่ฮิโรชิมา (6 ส.ค. 2488) และนางาซากิ (9 ส.ค. 2488) ท่ามกลางผู้เสียชีวิ...
ระเบิดปรมาณู ฮิโรชิมา ญี่ปุ่น 1945

น้ำตาเด็กท่ามกลางซากปรักหักพัง หลังสหรัฐฯ ทิ้งระเบิดปรมาณูใส่เมืองฮิโรชิมา

ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกาพัฒนา "ระเบิดปรมาณู" ในโครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project) มีผู้อำนวยการคือ จูเลียส โรเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์ (Juliu...
โยอาคิม รอนแนแบร์ก พลทหาร ชาวนอร์เวย์

โยอาคิม รอนแนแบร์ก วีรบุรุษนอร์เวย์ ผู้ดับฝันโครงการนิวเคลียร์นาซี

ไม่มีใครคาดคิดว่า โยอาคิม รอนแนแบร์ก อดีตพนักงานหนุ่มของบริษัทส่งออกปลากระป๋องของนอร์เวย์ จะสามารถทำภารกิจครั้งยิ่งใหญ่ในการขัดขวางการพัฒนาอาวุธนิวเคล...
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ขบวนพาเหรด นาซีเยอรมัน กรุงวอร์ซอ โปแลนด์

ยุทธการดับแผนนิวเคลียร์ “นาซีเยอรมัน”

ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เครื่องจักรสงครามของกองทัพเยอรมันพิชิตประเทศต่างๆ ในยุโรปให้มาอยู่แทบเท้าของ อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ผู้นำ “นาซีเยอรมัน” อุตสาหกร...
ทางรถไฟสายมรณะ สะพานข้ามแม่น้ำแคว สงครามโลกครั้งที่ 2

ทางรถไฟสายมรณะ อยู่ในไทย แต่ไม่ใช่ของไทย และไทย[จำต้อง]ซื้อ

หากกล่าวถึงสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ่งหนึ่งที่หลายคนคิดถึงกันก็คือ “ทางรถไฟสายมรณะ” ที่จังหวัดกาญจนบุรี  ซึ่งปัจจุบันเป็นหนึ่งในสถานที่ท่องเที่ยวยอดนิยม ...
คิม อิล ซุง

8 กรกฎาคม 1994 “คิม อิล ซุง” ผู้นำสูงสุดคนแรกของเกาหลีเหนือเสียชีวิตด้วยอาการหัว...

คิม อิล ซุง เกิดเมื่อวันที่ 15 เมษายน 1912 (พ.ศ. 2455) ที่เมืองมังยงแด (Man’gyondae) ของเกาหลี (ปัจจุบันอยู่ในเขตเกาหลีเหนือ) เดิมชื่อว่า คิม ซอง จู (...
พลทหารร รับ พลาสมา ที่ธนาคารเลือด อังกฤษ

“พลาสมา(น้ำเลือด)” นวัตกรรมทางการแพทย์ที่ช่วยชีวิตทหารในสงครามโลกครั้งที่ 2

ในบรรดานวัตกรรมทางการแพทย์ที่กรมแพทย์ทหารบกของสหรัฐฯ นําไปใช้ประโยชน์จนสามารถช่วยชีวิตทหารได้นั้น จัดได้ว่าของเหลวสีเหลืองในเลือดหรือ “พลาสมา” มีความส...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น