เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันศุกร์ที่ 29 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก เผด็จการ

แท็ก: เผด็จการ

พรรคคอมมิวนิสต์ การปฏิวัติวัฒนธรรม จีน

การปฏิวัติวัฒนธรรม (ที่ถูกทำให้ลืม) ระบอบกวาดล้างคนเห็นต่างแบบจีนๆ

ในประเทศไทยยุคหนึ่งสมัยหนึ่งการถูกกล่าวหาว่าเป็น “คอมมิวนิสต์” ถือเป็นอาชญากรรมร้ายแรง ขณะที่ในประเทศที่ปกครองด้วย พรรคคอมมิวนิสต์ อย่างจีน ครั้งหนึ่ง...
อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ปาฐกถา ผู้นำ เยอรมนี

23 มีนาคม 1933 : “ฮิตเลอร์” กุมอำนาจรัฐสภา เดินหน้าเป็นเผด็จการเต็มตัว...

ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจในปี 1929 ทำให้การเมืองใน เยอรมนี ขาดเสถียรภาพ โฆษณาชวนเชื่อโจมตีรัฐบาลที่ล้มเหลวในการแก้ปัญหา รวมถึงการต่อต้านชาวยิวสร้างคะแนนนิยม...
รัฐสภาเยอรมัน เพลิงไหม้

ไฟไหม้รัฐสภาเยอรมัน 27 กุมภาพันธ์ 1933 สู่ประกาศใช้ “ม.48” ปูทางฮิตเลอร์ยึดอำนาจ...

ไฟไหม้ "รัฐสภาเยอรมัน" เมื่อ 27 กุมภาพันธ์ 1933 สู่การประกาศใช้ มาตรา 48 ปูทาง อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ยึดอำนาจ เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1933 (พ.ศ. 247...
นักโทษชาวยิว ใน ค่ายกักกัน เยอรมนี

“มนุษย์ทดลอง” ในงานวิจัยวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภายใต้เผด็จการนาซี

การทดลองทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ไม่ได้มีแต่ “หนูทดลอง” เท่านั้น หลายครั้งก็ต้องมีการใช้ “มนุษย์ทดลอง” เช่นกัน เช่นที่พวก นาซี ทำการทดลองอย่างสยดสยองกับบ...
พัก จ็อง ฮี ประธานาธิบดี เกาหลีใต้ กับ คิม แจ คยู

จุดจบ “พัก จ็อง ฮี” ปิดฉากผู้นำเผด็จการเกาหลีใต้ที่ชุบตัวมาจากการเลือกตั้ง...

การสังหาร พัก จ็อง ฮี ผู้นำเผด็จการ "เกาหลีใต้" ในระบอบประชาธิปไตย ใน พ.ศ. 2522 หรือ ค.ศ. 1979 นอกจากถือว่าเป็นปีแห่งการสิ้นสุดทศวรรษที่ 1970 แล้ว ยัง...
จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ เผด็จการ ทหาร เลือกตั้ง จอมพลผ้าขาวม้าแดง

ปราบนักเลง-อันธพาลแบบ “จอมพลสฤษดิ์” ในวิถีพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ

ประเทศไทยในยุค พ.ศ. 2500 ได้รับขนานนามว่าเป็น “ยุคพัฒนา” ภายใต้แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติของรัฐบาล จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ หลังจากการปฏิวัติ การพั...
14 ตุลาคม 2516 นักศึกษา ประชาชน ฝูงชน

14 ตุลาคม 2516 รัฐบาลทหารใช้กำลังสลายผู้ชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตย แต่สุดท้ายสิ้...

14 ตุลาคม 2516 รัฐบาลทหารใช้กำลังสลายผู้ชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตย แต่สุดท้ายสิ้นอำนาจ การชุมนุมครั้งใหญ่ในเดือนตุลาคม 2516 เกิดขึ้นด้วยความไม่พอใจต่...
จิตร ภูมิศักดิ์ ผู้เขียนหนังสือ โฉมหน้าศักดินาไทย

ชีวิตในห้วงเผด็จการของ จิตร ภูมิศักดิ์ กับผลงาน และอิทธิพลทางความคิดสู่นักศึกษา

ความฝันของคนชื่อ จิตร ภูมิศักดิ์ ก่อนที่จะมาเป็น "นักคิด" คนสำคัญ ผู้มีผลงาน เช่น "โฉมหน้าศักดินาไทย" ที่ส่งผลต่อความคิดของคนรุ่นหลัง เดิมทีแล้ว ในวัย...
6 ตุลาคม 2519 นักศึกษา ประชาชน เจ้าหน้าที่รัฐ ตำรวจ ทหาร ล้อมปราบ

6 ตุลาคม 2519: เจ้าหน้าที่รัฐ “สังหารหมู่” นักศึกษากลางธรรมศาสตร์, ทหารฉวยโอกาสย...

6 ตุลาคม 2519 : เจ้าหน้าที่รัฐ “สังหารหมู่” นักศึกษา กลางมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กระทั่งทหารฉวยโอกาสยึดอำนาจ จากเหตุการณ์ประท้วงเรียกร้องประชาธิปไตยของ...
คึกฤทธิ์ ปราโมช

วาทะ “คึกฤทธิ์” ประชาธิปไตยเป็นระบอบเปลืองเงิน ไม่อยากเปลืองต้องเผด็จการ

ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช (พ.ศ. 2454-2538) เป็นบุคคลที่มีบทบาทในการเมืองไทยอย่างมาก ไม่ว่าจะในฐานะ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร, หัวหน้าพรรคการเมือง หรือนายกรัฐม...
อองซาน ซูจี และ พาร์ พาร์ เลย์

2 สิงหาคม 2013 : “ตลกบัญชีดำแห่งพม่า” เสียชีวิต

ภาพประกอบภาพนี้ เป็นภาพถ่ายไม่ทราบวันที่ของ “อองซาน ซูจี” อดีตผู้นำรัฐบาลพม่าที่มาจากการเลือกตั้ง และ “พาร์ พาร์ เลย์” (Par Par Lay) พี่ใหญ่แห่งคณะตลก...
คิม ยอง-ซัม คิม แด-จุง หารือ การลงสมัคร เลือกตั้ง ประธานาธิบดี ปี 1987

ข้ามขั้วฉบับเกาหลีใต้! เมื่อเพื่อนรักนักต่อสู้ประชาธิปไตย หันไป “ซบอก” ฝ่ายเผด็จ...

“ข้ามขั้ว” ฉบับเกาหลีใต้ เมื่อเพื่อนรักนักต่อสู้ประชาธิปไตย หันไป “ซบอก” ฝ่ายเผด็จการ คำกล่าวที่ว่า การเมืองไม่มี “มิตรแท้และศัตรูถาวร” เป็นจริงอยู...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น