เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันพฤหัสที่ 28 มีนาคม พ.ศ.2567
หน้าแรก แท็ก ระเบิดปรมาณู

แท็ก: ระเบิดปรมาณู

The Trinity Test การทดสอบ ระเบิดปรมาณู ลูกแรก ของ โครงการแมนฮัตตัน ของ ออปเพนไฮเมอร์ เมื่อวันที่ 16 กรกฏาคม 1945

“การทดสอบทรินิตี” อุบัติการณ์แห่งปรมาณู วินาทีที่โลกเข้าสู่ยุคนิวเคลียร์

16 กรกฎาคม ค.ศ. 1945 การทดสอบทรินิตี “ระเบิดปรมาณู” ลูกแรกของโลก เกิดขึ้นกลางทะเลทรายในรัฐนิวเม็กซิโก สหรัฐอเมริกา ส่วนหนึ่งของโครงการลับของรัฐบาลสหรั...
ออปเพนไฮเมอร์ บิดาแห่งระเบิดปรมาณู

“ออปเพนไฮเมอร์” บิดาแห่งระเบิดปรมาณู ผู้ถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์

ออปเพนไฮเมอร์ บิดาแห่งระเบิดปรมาณู ผู้สร้างอาวุธทำลายล้าง จนทำให้สหรัฐอเมริกาเอาชนะสงครามโลกครั้งที่ 2 เขาจึงกลายเป็นวีรบุรุษของชาติในฐานะผู้คิดค้นอาว...
การทดสอบ ระเบิดปรมาณู

ที่มาระเบิดปรมาณูในสงครามโลกครั้งที่ 2 โครงการสุดลับของอเมริกา

ที่มา "ระเบิดปรมาณู" ในสงครามโลกครั้งที่ 2 โครงการสุดลับของอเมริกา เดือนสิงหาคม 1939 อัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ เขียนจดหมายถึง ประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี. รู...
สภาพ เมือง นางาซากิ หลังถูกถล่มด้วย ระเบิดปรมาณู

9 สิงหาคม 1945 สหรัฐฯ ทิ้งระเบิดปรมาณู “ไอ้อ้วน” ถล่มนางาซากิ

“ไอ้อ้วน” (Fat man) เป็นระเบิดปรมาณูเชื้อเพลิงพลูโตเนียม-239 ของกองทัพสหรัฐฯ ที่ถูกใช้ถล่มเมืองนางาซากิ ของญี่ปุ่น ในสมัยสงครามโลกครั้งที่ 2 มีพลังทำล...

เปิดชีวิตของ ซึโตมุ ยะมะกุจิ ผู้รอดจากระเบิดปรมาณูทั้งที่ฮิโรชิมา และนางาซากิ

ซึโตมุ ยะมะกุจิ (Tsutomu Yamaguchi) ผู้โชคดีที่รอดชีวิตระเบิดปรมาณูถึง 2 ครั้ง ที่ฮิโรชิมา (6 ส.ค. 2488) และนางาซากิ (9 ส.ค. 2488) ท่ามกลางผู้เสียชีวิ...
ระเบิดปรมาณู ฮิโรชิมา ญี่ปุ่น 1945

น้ำตาเด็กท่ามกลางซากปรักหักพัง หลังสหรัฐฯ ทิ้งระเบิดปรมาณูใส่เมืองฮิโรชิมา

ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 สหรัฐอเมริกาพัฒนา "ระเบิดปรมาณู" ในโครงการแมนฮัตตัน (Manhattan Project) มีผู้อำนวยการคือ จูเลียส โรเบิร์ต ออปเพนไฮเมอร์ (Juliu...
ระเบิดปรมาณู ที่เมือง ฮิโรชิมา ญี่ปุ่น ในช่วง สงคราม สงครามโลกครั้งที่ 2

สงครามในอดีตจากมุมมองคนไทย ระเบิดปรมาณูมีพิษสงเท่าอาทิตย์ 7 ดวงขึ้นพร้อมกัน

"สงคราม" นับเป็นภัยร้ายแรงที่สุดสำหรับมนุษยชาติ สงครามโลกทั้ง 2 ครั้ง ที่เกิดขึ้นมีเอกสารวิชาการ และบทความกึ่งวิชาการ บันทึกเรื่องเหล่านี้ไว้ในหลายประ...
ระเบิด ระเบิดปรมาณู ฮิโรชิมา นางาซากิ คู่มือ สาธารณภัย

“คําแนะนําการบรรเทาภัยระเบิดปรมาณู” คู่มือป้องกันภัยระเบิดปรมาณูเล่มแรกของไทย...

ย้อนไปเมื่อเช้าวันที่ 6 สิงหาคม 2488 เครื่องบินของกองทัพสหรัฐฯ ทิ้ง "ระเบิดปรมาณู" หนัก 4 ตันลงที่เมืองฮิโรชิมา ประเทศญี่ปุ่น มีประชากรเสียชีวิตทันที ...
ระเบิดปรมาณู ฮิโรชิมา นางาซากิ

รวมท่าทีไทยหลังระเบิดปรมาณูที่ฮิโรชิมา ติงญี่ปุ่นยุติสงครามไม่แจ้งพันธมิตร

เช้าวันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2488 เครื่องบินของกองทัพสหรัฐฯ ทิ้ง ระเบิดปรมาณู หนัก 4 ตันลงที่ ฮิโรชิมา ประเทศญี่ปุ่น ประชากรเสียชีวิตทันที 66,000 คน อีกก...

ซาดาโกะ ซาซากิ ตำนานพับนกกระเรียนกระดาษ 1,000 ตัว สัญลักษณ์แห่งสันติภาพ

ซาดาโกะ ซาซากิ (Sadako Sasaki) เด็กผู้หญิงชาวญี่ปุ่นผู้ต่อสู้กับโรคร้ายผลจากภัยสงครามโลก ตำนานคำอธิษฐานด้วยการพับนกกระเรียนกระดาษ 1,000 ตัว ซาดาโกะ เ...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น