แท็ก: สำเพ็ง
ที่มาของพระราชดำรัส รัชกาลที่ 7 แก่ชาวจีน “ข้าพเจ้าเองก็มีเลือดจีนปนอยู่”...
ความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนมีความเป็นมายาวนาน สถาบันพระมหากษัตริย์ไทยมีส่วนสำคัญต่อสถานะของความสัมพันธ์นับตั้งแต่สมัยโบราณ มาจนถึงยุครัตนโกสินทร์ ซึ่งห...
เถียน-เต็ง-หอย สามชาวจีนอพยพ สู่นายทุน-ขุนนางยุคแรกในสยาม กับภาพสะท้อนระบบอุปถัม...
เถียน เต็ง และ หอย เป็น ชาวจีน 3 ราย ที่อพยพเข้ามาในสยาม ต่อมาสร้างเนื้อสร้างตัวกระทั่งมีฐานะ และเป็นต้นธารของตระกูลใหญ่ที่มีบทบาทในสังคมไทย และได้รับ...
สืบต้นกำเนิดสำเพ็ง จากศูนย์การค้ายุคแรกสมัยรัตนโกสินทร์ สู่ย่านสีเทา-โสเภณี
ทุกวันนี้คนที่เคยสัมผัสกับบรรยากาศในกรุงเทพฯ น้อยคนนักที่จะไม่รู้จักย่าน "สำเพ็ง" ย่านการค้าที่เคยถูกเปรียบได้ว่าแทบเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจการค้าที่เ...
สำเพ็ง : กำเนิด ความสำคัญ และความผูกพันในร่มพระบารมีจักรีวงศ์
สำเพ็งเป็นนามของย่านชาวจีนสำคัญมีกำเนิดควบคู่มากับการตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งผ่านการเวลาและการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพ เศรษฐกิจ ตลอดจนด้านวัฒนธรรมอย่...
“เยาวราช” พิพิธภัณฑ์ (มี) ชีวิตจีนโพ้นทะเล
บทนำ
“เยาวราช” เป็นชื่อถนนสายหนึ่ง ในเขตสัมพันธวงศ์ หากฐานะที่แท้จริง เยาวราชคือชุมชนจีนโพ้นทะเลเก่าแก่ขนาดใหญ่ในเมืองไทย เยาวราชที่จะกล่าวถึงต่อไปใน...
สำเพ็ง เป็นภาษามอญ? สำรวจความเป็นมาของชื่อที่มีหลายข้อสันนิษฐาน
สำรวจความเป็นมาของชื่อ สำเพ็ง ฤาจะเป็นภาษามอญ? แต่ก็มีข้อสันนิษฐานถึงที่มาของคำนี้หลายประการ
“บางจีน” ย่านคนจีนก่อนย้ายไป สำเพ็ง
“บางจีน” เป็นย่าน...
2 วัด กับ 1 โรงพยาบาล หลักฐานความเฟื่องฟูของ “หญิงหากิน” สมัยรัชกาลที่ 5...
หญิงหากิน, หญิงคนชั่ว, โสเภณี ฯลฯ หรืออีกหลายชื่อที่เรียกกันในแต่ละยุคว่า และไม่ว่าเทคโนโลยีจะก้าวล้ำไปขนาดไหน อาชีพเก่าแก่นี้ยังคงอยู่เรื่อยมาก แม้จะ...
เริ่มแล้ว! “Song Wat Week” ท่องทรงวาด สัมผัสย่านธุรกิจเก่าแก่ของกรุงเทพ...
“ถนนทรงวาด” ย่านสำเพ็ง ในอดีตนับเป็นอีกศูนย์กลางการค้ายุคบุกเบิกของไทย มีกิจการห้างร้านหลากหลายประเภทดำเนินธุรกิจอย่างคึกคัก มีการคมนาคมขนส่งสินค้...
“หลวงโกชาอิศหาก” มัสยิดหนึ่งเดียวในชุมชนจีนย่านสำเพ็งมาจากไหน?
มัสยิดหลวงโกชาอิศหาก ตั้งอยู่เลขที่ 979 ถนนทรงวาด เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพฯ ชื่อตามผู้ก่อตั้งมัสยิดคือ หลวงโกชาอิศหาก (เกิด บินอับดุลลาห์) และเป็นมัสยิด...
เปิดบันทึกประวัติ นายเตี่ย(เท่งปอ) ต้นตระกูล “อึ๊งภากรณ์” พนง.รับใช้ สู่ “ขุนอาก...
เนื่องจากบทความเรื่อง "อึ๊งภากรณ์-เหลืองดังดวงตะวัน" ของ ดร. วรวุฒิ จิราสมบัติ ใน (นิตยสาร) ศิลปวัฒนธรรม ฉบับเดือนพฤษภาคม 2549 ได้กล่าวถึงประวัติชีวิต...
วิถี “ตลาดน้อย” ยุคตั้งต้น ชุมชน “จีน” กับความเฟื่องฟูที่ถูกผนวกรวมกับย่านสำเพ็ง...
ย่านตลาดน้อย เป็นชุมชนจีนที่เกิดขึ้นมาจากการขยายตัวของสำเพ็งซึ่งเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจของกรุงเทพฯ ในช่วงรัตนโกสินทร์ตอนต้น โดยที่บรรดาชาวจีนต่างพากั...
“นางจ้าง” อีกหนึ่งชื่อเรียกของ “โสเภณี” จากนิราศของสุนทรภู่...
ถึงสำเพ็งเก๋งตั้งริมฝั่งน้ำ แพประจำเรือเรียงเคียงขนาน เป็นซูมซอกตรอกนางจ้างประจาน ยังขับขานแซ่ศัพท์ไม่หลับลง โอ้ธานีศรีอยุธยาเอ๋ย คิดจะเชยก็ได้ชมสมประ...