เว็บไซต์นี้ใช้คุ้กกี้เพื่อสร้างประสบการณ์ที่ดีมีประสิทธิภาพยิ่งขี้น อ่านเพิ่มเติมคลิก (Privacy Policy) และ (Cookies Policy)
วันเสาร์ที่ 19 เมษายน พ.ศ.2568
หน้าแรก แท็ก ภาคเหนือ

แท็ก: ภาคเหนือ

ตราประจำจังหวัดเชียงราย

รู้หรือไม่? ตราสัญลักษณ์ประจำจังหวัด “เชียงราย” เคยเป็น “หนุมาน”

ปัจจุบัน ถ้าเราสังเกตตราประจำจังหวัดเชียงราย จะปรากฏรูปช้างสีขาวใต้เมฆบนพื้นหลังสีม่วง แต่รู้หรือไม่ว่าในอดีต จ. เชียงราย มีตราประจำจังหวัดคือรูป “หนุ...
เมืองสามหมอก แม่ฮ่องสอน หมอก

แม่ฮ่องสอน “เมืองสามหมอก” หมอกอะไรบ้าง?

แม่ฮ่องสอน จังหวัดหนึ่งทางภาคเหนือของไทย กับสมญานาม “เมืองสามหมอก” หรือ “เมืองในหมอก” มีความหมายว่าอย่างไร? จากคำขวัญจังหวัด ที่ว่า “หมอกสามฤดู กอง...
ครูบาศรีวิชัย ตนบุญแห่งล้านนา

“ครูบาศรีวิชัย” มรณภาพวันไหนกันแน่?

ปริศนาอีกอย่างหนึ่งของ “ครูบาศรีวิชัย” ตนบุญแห่งล้านนา ผู้สร้างถนนขึ้นดอยสุเทพ คือ ครูบาศรีวิชัย มรณภาพวันไหนกันแน่? บางเอกสารก็ว่าเป็นวันที่ 20 กุมภา...
การสรงน้ำ สรงน้ำพระ อยุธยา สตรี ประเพณีสงกรานต์

ดู “การสรงน้ำ” ช่วงสงกรานต์สมัยโบราณ วิธีสรงน้ำที่คนไม่แออัดในภาคเหนือ-อีสาน...

"การสรงน้ำ" เนื่องใน "ประเพณีสงกรานต์" ยึดถือปฏิบัติกันมาตั้งแต่อดีต โดยจะทำการสรงน้ำพระพุทธรูปก่อน แล้วจึงสรงน้ำพระสงฆ์ภายหลัง รวมทั้งมีการก่อพระเจดี...
สงกรานต์เชียงใหม่ สงกรานต์ ล้านนา สาดน้ำ ปากปี๋

“ปากปี๋” วันเริ่มต้นปีใหม่ (ที่แท้จริง?) ของภาคเหนือ คนล้านนาทำอะไร ไหว้อะไร?

“ปากปี๋” วันเริ่มต้นปีใหม่ “ที่แท้จริง” ของ ภาคเหนือ? วันนี้สำคัญอย่างไร คนล้านนาทำอะไร ไหว้อะไรกัน? “ศิลปวัฒนธรรม” ร่วมกับ สมฤทธิ์ ลือชัย ผู้เชี่ย...
ผีกะ ผี ภาคเหนือ ในละคร วิญญาณแพศยา ช่อง 8

เจาะลึกเรื่องหลอน “ผีกะ” ผีพื้นบ้านภาคเหนือ มีที่มาอย่างไร เลี้ยงแบบไหน ใช้วิธีใ...

เมื่อพูดถึงเรื่อง “ผี” ประจำถิ่น หลายคนคงจะนึกถึง ผีปอบ ผีกระสือ ผีกระหัง ผีแม่นาค ฯลฯ แต่มีผีอีกชนิดหนึ่ง ที่มีเรื่องราวน่าสนใจ ทั้งยังเป็น ผี ชนิดเด...
วัวต่าง

รู้จัก “วัวต่าง” กับวิถีชีวิตทางเหนือ ทำไมถึงเรียกว่า “วัวต่าง”?

“วัวต่าง” ไม่ได้มีลักษณะต่างจากวัวทั่วไปแต่อย่างใด เพียงแต่เติมคำว่า “ต่าง” ต่อท้าย  พจนานุกรมฉบับมติชนอธิบายคำว่า "ต่าง" 1. เป็นคำกริยา บรรทุก, ขนย้า...
หญิงไทย หนังสือเล่าเรื่องกรุงสยาม คนไทย ไทย ไท คนไท

“ห่าจก-ห่ากิ๋นตั๊บ” ส่องวัฒนธรรมคำด่าตระกูล “ห่า” จากเหนือจรดใต้ อดีตถึงปัจจุบัน...

ห่าจก ห่ากิ๋นตั๊บ ส่องวัฒนธรรม "คำด่า" ตระกูล "ห่า" จากเหนือจรดใต้ อดีตถึงปัจจุบัน ทำไมคำว่าห่าถึงกลายเป็นคำด่าไปได้ เป็นเรื่องน่าสนใจทีเดียวเมื่อน...
ตลาดใน “ล้านนา” ภาคเหนือของสยาม

คนเมือง

“คนเมือง” คือใคร มีที่มาจากที่ไหน และเริ่มใช้กันมาตั้งแต่เมื่อไร? ดูจะเป็นคำถามที่มีคำตอบหลากหลาย คำตอบสำหรับคำถามนี้ดูจะเป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปแ...

คุ-แอ่ว เครื่องจักสานขนาดใหญ่ ของเกษตรกรล้านนา

เครื่องจักสานเป็นหัตถกรรมเก่าแก่อย่างหนึ่ง เชื่อกันว่า มนุษย์รู้จักทำเครื่องจักสานมาตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เพราะได้พบร่องรอยของเครื่องจักสานบนภา...

“ตำนานดอกคำใต้” การค้าประเวณีที่ก่อค่านิยมเป็น “โสเภณี” เพื่อยกฐานะครอบครัว...

ปัญหาของโสเภณีเป็นที่วิพากษ์วิจารณ์กันมาแสนนาน...เหตุหนึ่งคือ ความจริงจังที่จะปฏิบัติของเจ้าหน้าที่ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง เพราะเมื่อมีการจับโสเภณี ก็จะจั...

ตามรอยพิธีกรรมโบราณ การบูชาน้ำ-ขอฝน ที่อำเภอแม่แจ่ม เชียงใหม่

“สะนันตุ พะละโต ดูการาเทพยดาทั้งหลาย มีภุมมะเทวดา รุกขะเทวดา อากาศะเทวดา และแม่ธรณีเจ้าแม่คงคาทั้งหลาย อันอยู่รักษาต้นน้ำและแม่น้ำน้อยใหญ่ทุกเส้นทุกสา...

ติดตามเรา

เรื่องเด่น